360 likes | 498 Views
1. การนำเสนองานวิจัย รายวิชาสัมมนาเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เรื่อง. ศักยภาพการส่งออกข้าวไทย กรณีศึกษาเปรียบเทียบข้าวไทย – ข้าวเวียดนาม. 12 กุมภาพันธุ์ 2550. การศึกษาเปรียบเทียบศักยภาพในการแข่งขันของภาคเศรษฐกิจข้าวไทยและภาคเศรษฐกิจข้าวเวียดนามในตลาดข้าวระหว่างประเทศ
E N D
1 การนำเสนองานวิจัยรายวิชาสัมมนาเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศเรื่อง ศักยภาพการส่งออกข้าวไทยกรณีศึกษาเปรียบเทียบข้าวไทย – ข้าวเวียดนาม 12 กุมภาพันธุ์ 2550
การศึกษาเปรียบเทียบศักยภาพในการแข่งขันของภาคเศรษฐกิจข้าวไทยและภาคเศรษฐกิจข้าวเวียดนามในตลาดข้าวระหว่างประเทศการศึกษาเปรียบเทียบศักยภาพในการแข่งขันของภาคเศรษฐกิจข้าวไทยและภาคเศรษฐกิจข้าวเวียดนามในตลาดข้าวระหว่างประเทศ วิธีการศึกษาแบ่งออกเป็น 3 ส่วนด้วยกัน คือ การศึกษาเปรียบเทียบข้อมูลในภาคการผลิต ภาคการบริโภค และภาคการส่งออกของภาคเศรษฐกิจข้าวไทยและเวียดนาม การวิเคราะห์ความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ (Comparative Advantage) การวิเคราะห์ทางการตลาดโดย BCG Matrix 2 วิธีการศึกษา
3 วิธีการศึกษา “ต้องการศึกษาว่าเมื่อเวียดนามสามารถพัฒนาศักยภาพในการแข่งขัน ของภาคเศรษฐกิจข้าวจนขึ้นมาเป็นประเทศผู้ส่งออกข้าวรายสำคัญในตลาด ข้าวระหว่างประเทศและถือเป็นคู่แข่งที่สำคัญของไทยในตลาดข้าวระหว่าง ประเทศนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 เป็นต้นมา แล้วศักยภาพในการแข่งขัน ของภาคเศรษฐกิจข้าวไทยในตลาดข้าวระหว่างประเทศโดยเปรียบเทียบกับ เวียดนามมีสถานะเป็นอย่างไร?”
4 การศึกษาเปรียบเทียบข้อมูลในภาคการผลิต ภาคการบริโภค และภาคการส่งออกของภาคเศรษฐกิจข้าวไทยและเวียดนาม
5 ช่วงเวลาที่ศึกษา • ช่วงที่ 1: พ.ศ. 2520 – 2531 เป็นช่วงเวลาก่อนที่เวียดนามจะกลับเข้าสู่ตลาดข้าว ระหว่างประเทศอีกครั้งในปี พ.ศ. 2532 • ช่วงที่ 2: พ.ศ. 2532 – 2542 เป็นช่วงเวลานับตั้งแต่ที่เวียดนามกลับเข้าสู่ตลาด ข้าวระหว่างประเทศจนถึงในปี พ.ศ. 2542 ซึ่งเป็นปีที่เวียดนามสามารถส่งออก ข้าวได้ในปริมาณที่สูงถึง 4.5 ล้านตัน (โดยในปี พ.ศ. 2540 ถือเป็นครั้งแรกที่ เวียดนามได้ขึ้นเป็นประเทศผู้ส่งออกข้าวอันดับ 2 ของโลกรองจากไทย) • ช่วงที่ 3: พ.ศ. 2543 – 2548 เป็นการปรับตัวในระยะหลังของเวียดนาม และ เป็นช่วงเวลาที่เวียดนามเป็นประเทศผู้ส่งออกข้าวอันดับที่ 2 ในตลาดข้าวระหว่าง ประเทศเป็นส่วนใหญ่
6 ภาคการผลิต • พื้นที่เพาะปลูกข้าว • ปริมาณผลผลิตข้าวต่อพื้นที่เพาะปลูก • ปริมาณผลผลิตข้าว
7 พื้นที่เพาะปลูกข้าวของไทยและเวียดนามในปี พ.ศ. 2520 – 2548 (พันเฮกตาร์) ที่มา: FAO STAT
8 การเปรียบเทียบพื้นที่เพาะปลูกข้าวและอัตราการขยายตัวของพื้นที่เพาะปลูก ที่มา: FAO STAT
9 ปริมาณผลผลิตข้าวต่อพื้นที่เพาะปลูกข้าวของไทยและเวียดนามในปี พ.ศ. 2520 – 2548 (ตัน/เฮกตาร์) ที่มา: FAO STAT
10 การเปรียบเทียบผลผลิตข้าวต่อพื้นที่และอัตราการขยายตัวของผลผลิตต่อพื้นที่ ที่มา: FAO STAT
11 ปริมาณผลผลิตข้าวของไทยและเวียดนามในปี พ.ศ. 2520 – 2548 (พันตันข้าว) ที่มา: FAO STAT
12 การเปรียบเทียบปริมาณผลผลิตข้าวและอัตราการขยายตัวของปริมาณผลผลิต ที่มา: FAO STAT
13 การกระจายตัวของปริมาณผลผลิตข้าว (พันตัน) ในแต่ละช่วงเวลา ที่มา: FAO STAT
14 ภาคการบริโภค • ปริมาณการบริโภคข้าว • สัดส่วนของการบริโภคข้าวต่อปริมาณผลผลิตข้าวในประเทศ
15 ปริมาณการบริโภคข้าวของไทยและเวียดนามในปี พ.ศ. 2533 – 2547 (พันตัน) ที่มา: FAO STAT
16 การเปรียบเทียบปริมาณการบริโภคข้าวและอัตราการขยายตัวของปริมาณการบริโภค ที่มา: FAO STAT
17 สัดส่วนของปริมาณการบริโภคข้าวต่อปริมาณผลผลิตข้าว (ร้อยละ) ที่มา: FAO STAT
18 สัดส่วนของปริมาณการบริโภคข้าวต่อปริมาณผลผลิตข้าวโดยเฉลี่ย (ร้อยละ) ที่มา: FAO STAT
19 ภาคการส่งออก • ชนิดข้าวที่ส่งออก • ตลาดส่งออกข้าว • ปริมาณการส่งออกข้าว • มูลค่าการส่งออก • ราคาส่งออกข้าว
20 ปริมาณการส่งออกข้าวของไทยและเวียดนามในปี พ.ศ. 2520 – 2549 (พันตัน) ที่มา: FAO STAT
21 การเปรียบเทียบปริมาณการส่งออกข้าว และอัตราการขยายตัวของการส่งออก ที่มา: FAO STAT
22 การกระจายตัวของปริมาณการส่งออกข้าว (พันตัน) ในแต่ละช่วงเวลา ที่มา: FAO STAT
23 สัดส่วนของปริมาณการส่งออกข้าวในตลาดข้าวระหว่างประเทศโดยเฉลี่ย ที่มา: FAO STAT
24 มูลค่าการส่งออกข้าวของไทยและเวียดนามในปี พ.ศ. 2520 – 2547 (ล้าน US$) ที่มา: FAO STAT
25 การเปรียบเทียบมูลค่าการส่งออกข้าวและอัตราการขยายตัวของมูลค่าการส่งออก ที่มา: FAO STAT
26 สัดส่วนของมูลค่าการส่งออกข้าวในตลาดข้าวระหว่างประเทศโดยเฉลี่ย ที่มา: FAO STAT
27 ราคาข้าวส่งออกโดยเฉลี่ยของไทยและเวียดนามในปี พ.ศ. 2533 – 2547 (US $/ตัน) ที่มา: FAO STAT
28 การเปรียบเทียบการกระจายของราคาส่งออกข้าวโดยเฉลี่ย ที่มา: FAO STAT
29 การวิเคราะห์ความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ (Comparative Advantage)
30 ดัชนีความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบของสินค้าข้าวเมื่อเทียบกับสินค้าทั้งหมดของไทยและเวียดนามในปี พ.ศ. 2528 – 2546 ที่มา: FAO STAT
31 การวิเคราะห์ทางการตลาดโดยใช้ BCG Matrix
32 BCG Matrix Relative Market Share Market Growth Rate
33 ช่วงเวลาที่ศึกษา • ช่วงที่ 1: พ.ศ. 2520 – 2531 • ช่วงที่ 2: พ.ศ. 2532 – 2536 • ช่วงที่ 3: พ.ศ. 2537 – 2542 • ช่วงที่ 4: พ.ศ.2543 – 2549
34 ผลการศึกษา ที่มา: FAO STAT
35 ผลการวิเคราะห์ BCGMatrix Market Growth Rate 0 10 >10 สินค้าดาวรุ่ง (Star) สินค้าที่มีปัญหา (?) สินค้าทำเงิน (Cash Cow) สินค้าที่ตกต่ำ (Dog) 3 4 2 1 >1 1 0 Relative Market Share
36 Answer and Question