650 likes | 821 Views
การบันทึกบัญชีเฉพาะเรื่อง. 1. เงินงบประมาณเบิกแทนกัน 2. เงินทดรองราชการ 3 . ทุนหมุนเวียน 4 . การบันทึกสินทรัพย์ถาวรในระบบ FA. 1. การเบิกเงินงบประมาณแทนกัน. เจ้าของเงิน งบประมาณ. หน่วยงานผู้ปฏิบัติงานแทน (ผู้เบิกแทน). การเตรียมการ - เจ้าของงบประมาณ.
E N D
การบันทึกบัญชีเฉพาะเรื่องการบันทึกบัญชีเฉพาะเรื่อง
1. เงินงบประมาณเบิกแทนกัน 2. เงินทดรองราชการ 3. ทุนหมุนเวียน 4. การบันทึกสินทรัพย์ถาวรในระบบ FA
1. การเบิกเงินงบประมาณแทนกัน เจ้าของเงิน งบประมาณ หน่วยงานผู้ปฏิบัติงานแทน (ผู้เบิกแทน)
การเตรียมการ-เจ้าของงบประมาณ • บันทึกการสำรองเงินเพื่อการเบิกแทน(FMX1) • งบประมาณที่เบิกแทนเป็นของเจ้าของงบประมาณ • ที่ส่วนกลางทั้งหมด ไม่ต้องจัดสรรลงจังหวัด • ได้เลขที่เอกสารเบิกแทนจากระบบ (6 หลัก) • 1 เลขที่เอกสารสำรองเงินต่อ 1 แหล่งเงิน • 1 รหัสงบประมาณและ 1 หน่วยเบิกจ่ายของผู้เบิกแทน • ส่ง แบบแจ้งการเบิกแทนกัน (สิ่งที่ส่งมาด้วย 3) ให้ผู้เบิกแทน
การสร้างข้อมูลหลักผู้ขายการสร้างข้อมูลหลักผู้ขาย เจ้าของงบประมาณ • รับ แบบแจ้งข้อมูลเพื่อใช้ในการสร้างข้อมูลหลักผู้ขาย • และหลักฐานจากผู้เบิกแทน • สร้างข้อมูลหลักผู้ขาย (XK01)หรือแบบ ผข.01 • (ตามหน่วยเบิกจ่ายของผู้เบิกแทน ใช้รหัส V) • ส่ง แบบขออนุมัติข้อมูลหลักผู้ขายเพื่อขออนุมัติและยืนยันผู้ขายและ แบบขอเปลี่ยนแปลงข้อมูลหลักผู้ขายเพื่อขอเพิ่มเลขที่บัญชีเงินฝาก • พร้อมส่งหลักฐานที่เกี่ยวข้องให้กรมบัญชีกลางอนุมัติผู้ขาย
เจ้าของงบประมาณ – ส่งให้กรมบัญชีกลาง
เจ้าของงบประมาณ – ส่งให้กรมบัญชีกลาง
การรับข้อมูลเพื่อขอเบิกเงินและนำเข้าการรับข้อมูลเพื่อขอเบิกเงินและนำเข้า เจ้าของงบประมาณ • รับข้อมูลจากผู้เบิกแทน (แบบฟอร์มขบ.04) • ตรวจสอบและ Encrypt File • นำส่งข้อมูลผ่าน Excel Loader เข้าระบบ • บันทึกการควบคุมในทะเบียนคุมการเบิกงบประมาณแทนกัน • (แยกตามหน่วยเบิกแทน) • แจ้งเลขที่เอกสารตั้งเบิกที่ได้จากระบบให้ผู้เบิกแทนทราบ
1. ขอเบิกเงินZFB60_KD หรือ แบบ ขบ 04 2. กรมบัญชีกลางอนุมัติ และสั่งจ่ายเงินเข้าบัญชี ของส่วนราชการ 3. กรณีมีภาษีระบบจะบันทึก รายการให้อัตโนมัติ 4. เพิ่มบัญชีรายได้ให้สรรพากร เดบิต ค่าใช้จ่าย เครดิต เจ้าหนี้ เดบิต เจ้าหนี้อื่น-หน่วยงานรัฐ เครดิต รายได้ระหว่างหน่วยงาน- รับเงินจากรัฐบาล เดบิต เจ้าหนี้ เครดิต ภาษีหัก ณ ที่จ่ายรอนำส่ง เดบิต ภาษีหัก ณ ที่จ่ายรอนำส่ง เครดิต รายได้ระหว่างหน่วยงาน- รับเงินจากหน่วยงานอื่น การเบิกเงินของเจ้าของงบประมาณ
การเรียกดูสถานะขอเบิกการเรียกดูสถานะขอเบิก เจ้าของงบประมาณ • เรียกรายงาน FBL1N • (รายงานแสดงบรรทัดรายการผู้ขาย เพื่อดูสถานะการจ่ายเงิน) หมายเหตุ : การตั้งเบิกและการจ่ายเงินเข้าบัญชีเงินฝากผู้เบิกแทนจะบันทึกบัญชีเหมือนกับวิธีการจ่ายตรงเข้าบัญชีผู้ขาย ซึ่งเจ้าของงบประมาณ ไม่ต้องบันทึกรายการจ่ายเงินต่อ (ZF_53_PM)
กรณีเบิกเกินส่งคืน เจ้าของงบประมาณ 1 . บันทึกรายการรับเงิน ZGL_JE4 (บช.01 ประเภทเอกสาร JE) Dr. เงินสดในมือ -1101010101 Cr. เบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง-2116010104 การอ้างอิง : ปี + เลขที่เอกสารตั้งเบิก+ บรรทัดรายการค่าใช้จ่าย YYYY+XXXXXXXXXX+ ZZ 2. บันทึกรายการนำส่งเงิน ZRP_R6 (นส.02) Dr. ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงานฯ- 5XXXXXXXXX Cr. เงินสดในมือ -1101010101 การอ้างอิง : ปี + เลขที่เอกสารรับเงิน+ บรรทัดรายการเงินสด(ตามข้อ 1) YYYY+XXXXXXXXXX+ ZZ
กรณีเบิกเกินส่งคืน เจ้าของงบประมาณ 3. ปรับลดยอดค่าใช้จ่ายและรายได้เบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง ZGL_JE3 (บช.04 ประเภทเอกสาร JE) Dr. เบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง -2116010104 Cr. ค่าใช้จ่าย - 5XXXXXXXXX การอ้างอิง:ปี+เลขที่เอกสารตั้งเบิก+บรรทัดรายการค่าใช้จ่าย (เหมือนข้อ 1) YYYY+XXXXXXXXXX+ ZZ 4. แจ้งกรมบัญชีกลางผ่านรายการเอกสารZGL_JE3 (บช.04 ประเภทเอกสาร JE) 5. จับคู่เคลียร์รายการ F.13 เพื่อล้างสถานะรายการเบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง (JE4 – JE3)
การเตรียมการ - ผู้เบิกแทน • รับแจ้งข้อมูลจากเจ้าของงบประมาณ • เปิดบัญชีเงินฝากธนาคารรัฐวิสาหกิจประเภทกระแสรายวัน • 1 บัญชี เพื่อรับเงินจากการเบิกงบประมาณแทนกัน • ส่งแบบแจ้งข้อมูลเพื่อใช้ในการสร้างข้อมูลหลักผู้ขาย • (สิ่งที่ส่งมาด้วย 1) • พร้อมทั้งหลักฐานต่างๆให้เจ้าของงบประมาณ • เพื่อใช้ในการสร้างข้อมูลหลักผู้ขาย
การก่อหนี้ผูกพัน ผู้เบิกแทน • ก่อหนี้ผูกพัน/ทำสัญญากับคู่สัญญาตามปกติ(ไม่ทำ PO) • บันทึกการควบคุมใน • ทะเบียนคุมงบประมาณรายจ่าย-ส่วนกลาง • หรือทะเบียนคุมเงินประจำงวด - ส่วนภูมิภาค หมายเหตุ 1. เอกสารหลักฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับรายการเบิกแทน จะเก็บไว้ ที่ผู้เบิกแทน 2 ผู้เบิกแทนต้องบันทึกเลขที่ได้จากระบบ GFMIS (Document Number) ในช่องเลขที่เอกสารเสมอเพื่อใช้ตรวจสอบกับรายการขอเบิกกับหน่วยงานเจ้าของงบประมาณ (ผู้เบิกแทนจะได้รับแจ้งเลขที่เอกสาร GFMIS จากเจ้าของงบประมาณ )
การส่งข้อมูลเพื่อขอเบิกเงินการส่งข้อมูลเพื่อขอเบิกเงิน ผู้เบิกแทน • บันทึกข้อมูลการเบิกในแบบฟอร์มขอเบิกแทน ขบ.04 • ไม่ต้อง Encrypt File • บันทึกการควบคุมในทะเบียนคุมการเบิกงบประมาณแทนกัน • ส่งข้อมูลให้เจ้าของงบประมาณ (Email/Diskette)
การรับเงิน ผู้เบิกแทน • รับแจ้งเลขที่เอกสารตั้งเบิก/บันทึกทะเบียนคุมการเบิกงบประมาณแทนกัน • เมื่อได้รับเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารแล้วจึงจะสามารถ เขียนเช็คสั่งจ่ายเงินให้ผู้รับเงินต่อไปทั้งนี้ • เมื่อได้รับเงิน ให้บันทึกรายการในระบบ GFMIS ด้วย • ZRP_RE หรือ Excel Loader บช.01 • Dr. เงินฝากธนาคาร-นอกงบประมาณ 1101020604 • Cr. เงินรับฝากอื่น-2111030199 • แหล่งเงิน – 4839000-เงินรับฝาก
การรับเงิน ผู้เบิกแทน • เมื่อจ่ายเงินต่อให้ผู้รับเงิน • ให้บันทึกรายการในระบบ GFMIS ด้วย ZF_02_PP • หรือ Excel Loader แบบฟอร์ม บช.01ประเภทเอกสาร PP • Dr. เงินรับฝากอื่น-2111030199 • Cr. เงินฝากธนาคาร-นอกงบประมาณ 1101020604 • แหล่งเงิน – 4839000-เงินรับฝาก
กรณีเบิกเกินส่งคืน ผู้เบิกแทน • เมื่อจ่ายเงินไม่หมดและต้องส่งเงินคืนให้เจ้าของงบประมาณให้โอนเงินส่วนที่เหลือคืนเจ้าของงบประมาณ • และ บันทึกรายการในระบบ GFMIS ด้วย ZF_02_PP • หรือ Excel Loader แบบฟอร์ม บช.01 ประเภทเอกสาร PP • Dr. เงินรับฝากอื่น-2111030199 • Cr. เงินฝากธนาคาร-นอกงบประมาณ 1101020604 • แหล่งเงิน – 4839000-เงินรับฝาก
2. เงินทดรองราชการ ระบบบัญชี ระบบการควบคุม
ระบบบัญชี 1. บันทึกเบิกวงเงินทดรองราชการ(ครั้งแรก) แบบ ขบ. 03 ZFB60_K2xx24000 2.บก.โอนเงินเข้าบัญชี 3. จ่ายเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ แบบ ขจ.01 ZF_53_PM เดบิต เงินทดรองราชการ เครดิต ใบสำคัญค้างจ่าย เดบิต เงินฝากของหน่วยงาน(นอก) เครดิต เงินทดรองราชการรับจากคลัง เดบิต ใบสำคัญค้างจ่าย เครดิต เงินฝากของหน่วยงาน(นอก)
ระบบบัญชี 4. จ่ายเงินทดรองฯให้ยืม 5.จ่ายเงินทดรองฯตามใบสำคัญ 6. ถอนเงินจากธนาคารออมทรัพย์ เพื่อเป็นเงินสดที่หน่วยงาน 7. ลูกหนี้ส่งใช้ใบสำคัญ 8. รวบรวมใบสำคัญเพื่อขอเบิกเงินงบประมาณ ไม่ต้องบันทึกรายการ ในระบบ GFMIS
9.รับใบแจ้งหนี้หรือหลักฐาน9.รับใบแจ้งหนี้หรือหลักฐาน ขอเบิก บันทึกคำขอเบิก แบบ ขบ 02 ZFB60_KL 10.เมื่อกรมบัญชีกลางอนุมัติและ สั่งจ่ายเงินเข้าบัญชีหน่วยงาน 11. เมื่อจ่ายเงินผู้ถือเงินทดรอง แบบ ขจ 01 ZF_53_PM เดบิต ค่าใช้จ่าย เครดิต ใบสำคัญค้างจ่าย เดบิต เงินฝากของหน่วยงาน(ใน) เครดิต รายได้ระหว่างหน่วยงาน- รับเงินจากรัฐบาล เดบิต ใบสำคัญค้างจ่าย เครดิต เงินฝากของหน่วยงาน(ใน) ระบบบัญชี
ระบบบัญชี 12. กรณีต้องการส่งเงินทดรองราชการคืนคลัง ต้องบันทึกรับเงินคืนจากผู้ถือ เงินทดรอง แบบ นส.01 ZF_02_K2 แหล่งเงินxx24000 13.ส่งคืนวงเงินทดรองราชการ ทำได้เฉพาะหน่วยงานที่มี Terminal เท่านั้น ZRP_R7 (เมื่อได้เลข Doc. แจ้งกรมบัญชีกลางเพื่อผ่านรายการบัญชี) เดบิต เงินสดในมือ เครดิต เงินทดรองราชการ เดบิต เงินทดรองราชการรับจากคลัง เครดิต เงินสดในมือ
ระบบการควบคุม • บันทึกวงเงินทดรองราชการที่ได้รับอนุมัติจากคลัง • บันทึกการรับเงินทดรองราชการเข้าบัญชีเงินฝากธ.ออมทรัพย์ • บันทึกสัญญาการยืมเงิน • บันทึกการจ่ายเงินตามใบสำคัญ • บันทึกการส่งใช้ใบสำคัญชดใช้สัญญาการยืมเงิน • บันทึกการคืนวงเงินทดรองราชการ
3. ทุนหมุนเวียน การจัดตั้งทุนหมุนเวียน กฎหมายที่เกี่ยวข้อง • กฎหมายเฉพาะ • พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี
แหล่งที่มาของเงิน งบประมาณ รับบริจาค/ ช่วยเหลือ เงินกู้ ทุนหมุนเวียน เรียกเก็บ ค่าธรรมเนียม ขายสินค้า/ บริการ ดอกผล/ ผลประโยชน์
หลักเกณฑ์การปฏิบัติงานในระบบ GFMIS • การเบิกเงินงบประมาณ ส่วนราชการต้นสังกัดในส่วนกลาง • การเบิกเงินฝากคลัง หน่วยเบิกจ่ายที่ดูแลเงินฝากคลังของทุนหมุนเวียน
หลักในการบันทึกรายการบัญชีหลักในการบันทึกรายการบัญชี บัญชีเงินฝากคลังของทุนหมุนเวียน • หน่วยเบิกจ่ายที่ดูแลเงินฝากคลังของทุนหมุนเวียน บัญชีเงินรับฝาก-เงินทุนหมุนเวียน • ทุนหมุนเวียน บัญชีเงินฝากกองคลัง
ส่วนราชการต้นสังกัด ในส่วนกลาง หน่วยเบิกจ่าย ที่ดูแลเงินฝากคลัง ของทุนหมุนเวียน ทุนหมุนเวียน
แนวปฏิบัติทางบัญชีในระบบ GFMIS • ด้านรับ • ด้านจ่าย • การโอนขายบิล
แนวปฏิบัติทางบัญชีในระบบ GFMIS (ต่อ) ด้านรับ • งบประมาณ • กรณีเบิกหักผลักส่ง • กรณีเบิกเข้าหน่วยงาน • รายได้
ด้านรับ - เงินงบประมาณ เงินรับฝากของรัฐบาล 9999 (รายการพัก)
ด้านรับ - เงินงบประมาณ (ต่อ)
ด้านรับ - เงินงบประมาณ (ต่อ)
ด้านรับ - เงินงบประมาณ (ต่อ)
ด้านรับ - รายได้ (ต่อ) เงินรับฝากของรัฐบาล 9999
แนวปฏิบัติทางบัญชีในระบบ GFMIS (ต่อ) ด้านจ่าย • ซื้อสินทรัพย์ • ค่าใช้จ่าย • จ่ายเงินให้ยืม
การโอนขายบิล (ผู้โอน – ผู้รับโอน) การบันทึกข้อมูล เดบิต เงินรับฝากของรัฐบาล (ผู้โอน) 9999 เครดิต เงินรับฝากของรัฐบาล (ผู้รับโอน) 9999
แนวปฏิบัติของทุนหมุนเวียนแนวปฏิบัติของทุนหมุนเวียน • ระบบบัญชีของทุนหมุนเวียน • Mappingผังบัญชี • แบบ บช. 05 • นำข้อมูลเข้าระบบ GFMIS รหัสหน่วยเบิกจ่าย 8XXXXXXXX
4. การบันทึกสินทรัพย์ถาวรในระบบ FA • กระบวนงานในระบบสินทรัพย์ถาวร • 1. การสร้างข้อมูลหลักสินทรัพย์ถาวร • 2. การได้มาของสินทรัพย์ถาวร • 3. การโอนสินทรัพย์ระหว่างทำเป็นสินทรัพย์ • 4. การรับสินทรัพย์จากรายการคงค้างในบัญชีพักสินทรัพย์ • 5. การรับสินทรัพย์ที่สำรวจพบ • การโอนสินทรัพย์ • การจำหน่ายสินทรัพย์ • 8. การรับเงินรายได้จากการขายสินทรัพย์ • 9. การประมวลผลสิ้นเดือน