1 / 48

(ร่าง) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนพ.ศ.....

(ร่าง) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนพ.ศ. โดย นพ.สุพรรณ ศรีธรรมมา ที่ปรึกษากระทรวง ด้านพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข. คณะ กรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.). นายกรัฐมนตรี หรือ รองนายกฯ ที่ได้รับมอบหมาย เป็นประธาน กรรมการโดยตำแหน่ง - ปลัดกระทรวงการคลัง - ผอ. สำนักงบประมาณ

Download Presentation

(ร่าง) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนพ.ศ.....

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. (ร่าง)พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนพ.ศ.....(ร่าง)พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนพ.ศ..... โดย นพ.สุพรรณ ศรีธรรมมา ที่ปรึกษากระทรวง ด้านพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข

  2. คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) นายกรัฐมนตรี หรือ รองนายกฯ ที่ได้รับมอบหมาย เป็นประธาน กรรมการโดยตำแหน่ง - ปลัดกระทรวงการคลัง - ผอ. สำนักงบประมาณ - เลขาฯ สภาพัฒน์ฯ - เลขาธิการ ก.พ. เป็นกรรมการและเลขานุการ 1. 2. ม. 6 – ม. 8

  3. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ - จำนวน 5-7 คน, วาระ 3 ปี - ต้องไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง 3.

  4. อำนาจหน้าที่ 4.1 เสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรี เกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตร์การบริหาร ทรัพยากรบุคคล ภาครัฐ 4.2 กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และมาตรฐาน การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล 4.

  5. 4.3 ให้ความเห็นชอบกรอบอัตรากำลังของ ส่วนราชการ 4.4 กำกับดูแล ติดตาม และประเมินผลการ บริหารทรัยากรบุคคลของข้าราชการพลเรือน

  6. ในกรณีที่ ก.พ. มีมติว่า กระทรวง กรม หรือผู้มีหน้าที่ ไม่ปฏิบัติ หรือ ปฏิบัติโดยขัดหรือแย้งกับแนวทางที่ กำหนดไว้ใน พรบ. นี้ ให้ ก.พ. แจ้ง ถ้าไม่ดำเนินการตามมติ ก.พ. ภายในเวลาที่กำหนด โดยไม่มีเหตุอันควร ให้ถือว่า ปลัดกระทรวง อธิบดี หรือ ผู้มีหน้าที่ กระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง ม.9

  7. สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ขึ้นตรงต่อ นายกรัฐมนตรี กำหนดอำนาจหน้าที่ของ สำนักงาน ก.พ. ม.13

  8. ให้มีคณะอนุกรรมการสามัญ (อ.ก.พ.สามัญ) เพื่อเป็นองค์กรบริหารทรัพยากรบุคคล ในส่วนราชการ - อ.ก.พ. กระทรวง - อ.ก.พ. กรม - อ.ก.พ. จังหวัด ม.14 – ม.23

  9. คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม(ก.พ.ค.)คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม(ก.พ.ค.) จำนวน 7 คน ก.พ.ค. ต้องทำงานเต็มเวลา เลขาธิการ ก.พ. เป็น เลขานุการ ม. 24 – ม.33

  10. คณะกรรมการคัดเลือก (ก.พ.ค.) ประธานศาลปกครองสูงสุด เป็น ประธาน รองประธานศาลฎีกา กรรมการ ก.พ. ผู้ทรงคุณวุฒิ 1 คน เลขาธิการ ก.พ. เป็น กรรมการและเลขานุการ

  11. ก.พ.ค. มีวาระดำรงตำแหน่ง 6 ปี นับแต่วันที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่ง เพียงวาระเดียว

  12. อำนาจหน้าที่ ก.พ.ค. 1. เสนอแนะต่อ ก.พ. ที่เกี่ยวกับการพิทักษ์ ระบบคุณธรรม 2. สั่งการให้ ก.พ. ออกกฎ ระเบียบ หรือคำสั่ง 3. พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ 4. พิจารณาวินิจฉัยร้องทุกข์ 5. ออกกฎ ก.พ.ค. / ข้อบังคับ / ระเบียบ

  13. ข้าราชการพลเรือน มี 3 ประเภท 1. ข้าราชการพลเรือนสามัญ 2. ข้าราชการประจำต่างประเทศพิเศษ 3. ข้าราชการพลเรือนในพระองค์ ม.35 - ม.41

  14. ข้าราชการ - อายุไม่ต่ำกว่า 18 ปี - มีระเบียบเครื่องแบบของข้าราชการ พลเรือน

  15. การจำแนกตำแหน่งข้าราชการพลเรือนในอนาคต ... เดิม ใหม่ ระดับ 11 ทรงคุณวุฒิ ทักษะพิเศษ ระดับ 10 เชี่ยวชาญ อาวุโส ระดับ 9 ชำนาญการพิเศษ ระดับ 8 ชำนาญงาน ระดับสูง ระดับสูง ชำนาญการ ระดับ 7 ปฏิบัติงาน ปฏิบัติการ ระดับต้น ระดับต้น ระดับ 3-5 หรือ 6 ระดับ 2-4 หรือ 5 ระดับ 1-3 หรือ 4 วิชาการ อำนวยการ บริหาร ทั่วไป • จำแนกเป็น 4 ประเภท อิสระจากกัน • แต่ละกลุ่มมีจำนวนระดับแตกต่างกันตาม • ค่างานและโครงสร้างการทำงานในองค์กร • มีบัญชีเงินเดือนพื้นฐานแยกแต่ละกลุ่ม • กำหนดชื่อเรียกระดับตำแหน่งแทนตัวเลข • จำแนกเป็น 11 ระดับ • สำหรับทุกตำแหน่ง • มีบัญชีเงินเดือนเดียว

  16. ตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญ จะมีจำนวนเท่าใด ประเภทใด สายงานใด ระดับใด ให้เป็นไปตามที่ปลัดกระทรวง หรืออธิบดีกำหนด ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่ ก.พ. กำหนด

  17. เงินเดือนพื้นฐาน โครงสร้างระบบค่าตอบแทนใหม่ข้าราชการพลเรือน ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบหลัก Total Pay เชื่อมโยงผลสัมฤทธิ์ระหว่างหน่วยงานกับบุคคล ตำแหน่งงานที่มีลักษณะพิเศษ ช่วยสร้างความมั่นคงในการทำงาน สะท้อนขนาดงาน ผลงาน (Performance) และ สมรรถนะ (Competency) + + + 4 3 2 1 เงินเพิ่ม สวัสดิการ โบนัสรายปี

  18. ประเภทบริหาร ความก้าวหน้าในอาชีพ (ใหม่) ประเภทวิชาการ ประเภททั่วไป ประเภทอำนวยการ

  19. บัญชีอัตราเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนสามัญบัญชีอัตราเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนสามัญ 1. ประเภทบริหาร

  20. บัญชีอัตราเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนสามัญบัญชีอัตราเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนสามัญ 2. ประเภทอำนวยการ

  21. บัญชีอัตราเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนสามัญบัญชีอัตราเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนสามัญ 3. ประเภทวิชาการ

  22. กำหนด หลักเกณฑ์ การสรรหาการบรรจุ การแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการ

  23. ข้าราชการพลเรือนสามัญ ผู้ดำรง ตำแหน่งประเภทบริหาร เมื่อปฏิบัติ หน้าที่ครบ 4 ปี ให้มีการสับเปลี่ยน เว้นแต่จำเป็น ขออนุมัติคณะรัฐมนตรี ให้คงปฏิบัติหน้าที่เดิมไม่เกิน 2 ปี

  24. การเพิ่มพูนประสิทธิภาพการเพิ่มพูนประสิทธิภาพ และ เสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติราชการ

  25. ผู้บังคับบัญชา มีคุณธรรม เที่ยงธรรมและเสริมสร้างแรงจูงใจ ให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาดำรงตน เป็นข้าราชการที่ดี

  26. การรักษาจรรยาข้าราชการการรักษาจรรยาข้าราชการ 1. ยึดมั่นและยืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง 2. ความซื่อสัตย์ สุจริต และความรับผิดชอบ 3. ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใส ตรวจสอบได้ 4. ปฏิบัติหน้าที่โดยไม่เลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม 5. มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน ม.76 – ม.77

  27. วินัย และ การรักษาวินัย 1. สิ่งที่ข้าราชการ ต้องกระทำ 11 ข้อ 2. สิ่งที่ข้าราชการ ต้องไม่กระทำ 8 ข้อ 3. ความผิดวินัยอย่างร้ายแรง 8 ข้อ

  28. โทษทางวินัย 5 สถาน 1. ภาคทัณฑ์ 2. ตัดเงินเดือน 3. ลดเงินเดือน 4. ปลดออก 5. ไล่ออก

  29. กำหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการในการดำเนินการทางวินัย กำหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการ ให้ข้าราชการพลเรือนสามัญ ออกจากราชการ

  30. ข้าราชการพลเรือนมีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ และทางราชการมีความจำเป็นที่จะให้รับราชการ ต่อไป เพื่อปฏิบัติหน้าที่ในทางวิชาการ หรือ ต้องใช้ความสามารถเฉพาะตัว จะให้รับราชการ ต่อไปอีก ไม่เกิน 5 ปี ม.106

  31. ได้แก่ - ประเภททั่วไป ระดับอาวุโส หรือทักษะพิเศษ - ประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ หรือ ระดับทรงคุณวุฒิ

  32. กำหนดหลักเกณฑ์การอุทธรณ์กำหนดหลักเกณฑ์การอุทธรณ์ กรณีที่ผู้อุทธรณ์ ไม่เห็นด้วยกับ คำวินิจฉัยอุทธรณ์ของ ก.พ.ค. ให้อุทธรณ์คำวินิจฉัยนั้นต่อ ศาลปกครองสูงสุด ภายใน 90 วัน

  33. การร้องทุกข์ ให้ร้องทุกข์ต่อผู้บังคับบัญชาเหนือชั้นขึ้นไป ตามลำดับ การร้องทุกข์เหตุที่เกิดจากปลัดกระทรวง รัฐมนตรี หรือนายกรัฐมนตรี ให้ร้องทุกข์ ต่อ ก.พ.ค.

  34. บทเฉพาะกาล สำนักงาน ก.พ. ดำเนินการให้แล้วเสร็จ ภายใน 1 ปี นับแต่วันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ

  35. ทบาทภารกิจกระทรวงสาธารณสุข (ใหม่) กำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ ด้านสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้นในทุกระดับ 1.

  36. พัฒนาระบบและกลไก การบริหารจัดการด้านสุขภาพ 2.

  37. 3. ติดตาม กำกับ ดูแลระบบสุขภาพ ในภาพรวม และสร้างกลไก การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน

  38. ออกกฎหมาย บังคับใช้กฎหมาย และกำหนดมาตรฐานที่จำเป็น รวมทั้งกำกับดูแลและพัฒนาคุณภาพให้เป็นไปตามมาตรฐาน 4.

  39. จัดให้มีบริการด้านสุขภาพ โดย กำหนดชุดสิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐาน และพัฒนาบริการเฉพาะทาง 5.

  40. สร้างระบบการป้องกันและสร้างระบบการป้องกันและ ควบคุมโรคและภัยทางสุขภาพ ที่มีประสิทธิภาพทั้งในภาวะปกติ และภาวะฉุกเฉิน 6.

  41. ส่งเสริมทุกภาคส่วนของสังคมส่งเสริมทุกภาคส่วนของสังคม ในการมีส่วนร่วมสร้างเสริมสุขภาพ และพัฒนาศักยภาพของประชาชน ทางด้านพฤติกรรม และสำนึก ทางสุขภาพ 7.

  42. ประสานเพื่อกำหนดนโยบายประสานเพื่อกำหนดนโยบาย ทิศทางการวิจัย และการบริหาร จัดการวิจัยด้านสาธารณสุข 8.

  43. 9. ดำเนินงานด้านสุขภาพ ระหว่างประเทศ

  44. ขอขอบคุณ

More Related