490 likes | 657 Views
การจัดการความรู้ งานบริการพยาบาล. โครงการจัดการความรู้ งานบริการพยาบาล (KM). เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ ในการทำงานระหว่างบุคลากร เพื่อนำไปใช้แก้ไขปัญหาหน้างาน โดยมีการจัดเก็บและเผยแพร่ ความรู้ขององค์กรเพื่อสามารถ นำไปใช้อย่างรวดเร็ว. วัตถุประสงค์.
E N D
การจัดการความรู้ งานบริการพยาบาล
โครงการจัดการความรู้ งานบริการพยาบาล (KM) เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ ในการทำงานระหว่างบุคลากร เพื่อนำไปใช้แก้ไขปัญหาหน้างาน โดยมีการจัดเก็บและเผยแพร่ ความรู้ขององค์กรเพื่อสามารถ นำไปใช้อย่างรวดเร็ว
วัตถุประสงค์ • เพื่อสร้างขีดความสามารถของบุคลากรในการจัดการความรู้ งานบริการพยาบาล • เพื่อพัฒนาวิธีการในการจัดการองค์ความรู้ที่เหมาะสมในฝ่าย การพยาบาล • เพื่อสร้างเครือข่ายแลกเปลี่ยนความรู้ทางปฏิบัติการพยาบาล/ เพื่อสร้างฐานข้อมูลที่ได้จากการแลกเปลี่ยนความรู้ในรูปสารสนเทศและเอกสาร • เพื่อเป็นแบบอย่างในการจัดการความรู้ให้กับองค์กรพยาบาลอื่น
กำหนดเป็นนโยบาย/เข็มมุ่งกำหนดเป็นนโยบาย/เข็มมุ่ง กำหนด Domain ติดอาวุธตามบทบาท กำหนดแนวทาง เน้นคน CoP สะสมความรู้ ยกระดับการปฏิบัติ ประเมินผลการปฏิบัติ Kick off แลกเปลี่ยนเรียนรู้ กำหนดบทบาท วิเคราะห์ สังเคราะห์ K. การดำเนินการ จัดตั้งทีมดำเนินการ สร้างชุมชน Speed ทางIT องค์กร เรียนรู้
What are Communities of Practice? • เป็นเครือข่ายอย่างไม่เป็นทางการ ที่เกิดขึ้นจากความต้องการของสมาชิกในการที่ทำให้งานมีประสิทธิผลมากขึ้น หรือมีความเข้าใจงานลึกซึ้งขึ้น • มีโครงสร้างแตกต่างจากโครงสร้างหน่วยงานที่สำคัญคือเน้นการที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน การได้ทำงานร่วมกันและกับคนที่รู้จักมากกว่าการรายงานตามสายงานในหน่วยงาน
ลักษณะ CoP ที่สำคัญคือ • กลุ่มคนที่รวมตัวกันโดย … แรงปรารถนาร่วมกันในเรื่องๆ หนึ่ง (มี Domain) • เข้าใจเป็นอย่างดีว่าอะไรเป็นประเด็นที่ต้องพูดคุยกัน • มีวิธีการคิดและเข้าถึงปัญหาคล้ายๆ กัน • … ปฏิสัมพันธ์และสร้างความสัมพันธ์ (เป็นCommunity) • ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการแก้ไขปัญหาและตอบคำถาม • เชื่อมโยงกันข้ามทีมและหน่วยงาน (หรือองค์กร) • … แลกเปลี่ยนและพัฒนาความรู้ร่วมกัน (ต้อง Practice) • แลกเปลี่ยนข้อมูล เคล็ดลับ แนวทางแก้ปัญหา และแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ • สร้างเครื่องมือและฐานข้อมูลความรู้ แนวปฏิบัติ Etienne Wenger
CoP กับโครงสร้างที่คล้ายกัน • ทีม • ได้รับการแต่งตั้ง , รวมตัวกันในระยะเวลาที่จำกัด , เป้าหมายมักกำหนดโดยฝ่ายบริหาร • กลุ่ม QC • เน้นที่ปัญหา ไม่ใช่ความรู้ , รวมตัวกันในหน่วยงาน
What do they do? • สร้าง ใช้ความรู้ในการทำงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ดีขึ้นกว่าเดิม • โดยการเรียนรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยน ระหว่างสมาชิก • เกิดความรู้ใหม่ที่นำกลับไปใช้ในการทำงาน • นำความรู้ที่ได้จากการใช้ในงานกลับมาแลกเปลี่ยน ความรู้ในการปฏิบัติงานของตนเองมากขึ้น พัฒนาตนเอง ผลการปฏิบัติงานที่เกิดกับผู้รับบริการดีขึ้น outcomes
วงจรการเรียนรู้ของสมาชิกCOPวงจรการเรียนรู้ของสมาชิกCOP งานในหน่วยงาน ประยุกต์ใช้ความรู้ COP meeting Learning นำความรู้ใหม่ป้อนกลับ
กำหนดบทบาท Core Team CoP • มีการจัดตั้ง CoP • แต่ละ CoP มีการดำเนินการตามโครงสร้าง โดยกำหนดให้แต่ละ CoP มี • เจ้าภาพ • ผู้อำนวยความสะดวก (Facilitator) • ผู้ประมวลความรู้ (Historian) • ผู้บริหารระบบสารสนเทศ(Admin.)
กำหนด Domain CoP • การบริหารยาในผู้ป่วยเด็ก(Drug Administration in Pediatric) • การระบุตัวผู้ป่วย (Patient Identification) • บริการอย่างไรให้ถูกใจ (Patient Satisfaction) • การจัดการเครื่องมือในการทำหัตถการ (Surgical Instrument Management) • การเขียนบันทึกทางการพยาบาล (Nursing Document) • การเตรียมความพร้อมของผู้ป่วยและครอบครัว ก่อนผ่าตัด (Preoperative Management)
กำหนด Domain CoP • การจัดการความเจ็บปวดของผู้ป่วย (Pain Management) • การเตรียมจำหน่าย (Discharge Planning) • วิจัยทางการพยาบาล (Nursing Research) • การทำกิจกรรมพัฒนาคุณภาพด้วย CQI • Wound and Ostomy • การบริหารพยาบาล และ • การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
การสร้างขุมทรัพย์ความรู้การสร้างขุมทรัพย์ความรู้ การพัฒนาส่วนใหญ่ติดอยู่ตรงขั้นตอนไหน Priority Area คืออะไร Scoring Guideline Context อยากรู้เรื่องอะไร Critical Issues แลกเปลี่ยนประสบการณ์ Experience Sharing แนวคิด/หลักการสำคัญ (ขุมทรัพย์ความรู้) Concept ประยุกต์ใช้ Application
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • ต้องชัด • ชัดในประเด็นที่อยากรู้ • ชัดในประเด็นที่จะแลกเปลี่ยน • ต้องต่าง • เรื่องเดียวกันอาจจะมีประสบการณ์จากการทำงานที่แตกต่างกัน • ต้องเจาะลึก • เพื่อให้เข้าใจบริบท วิธีคิด เทคนิค ความสัมพันธ์ของวิธีการกับผลลัพธ์ อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
ค้นหาประเด็นใคร่รู้ • อะไรคือ Critical Issue สำหรับเรา (ระบุลักษณะของปัญหา/ประเด็นให้ชัดเจน) • ความยากลำบากในการดำเนินการ • ผลลัพธ์ที่ยังไม่เป็นที่พึงพอใจ • กรอบมาตรฐาน • ตั้งคำถามเจาะลึก • คำถามเชิงกระบวนการ (ทำอย่างไร) • คำถามเพื่อค้นหาบริบท (ทำไมจึงทำอย่างนั้น) • คำถามเพื่อค้นหาปัจจัยเอื้อ (อะไรที่ทำให้ประสบความสำเร็จ)
อบรม ผู้ดูแลระบบสารสนเทศ
สร้างชุมชน • กำหนด จำนวนสมาชิก และคุณสมบัติของสมาชิก • ประชาสัมพันธ์การสมัครสมาชิก CoP ผ่านสื่อต่างๆ เช่น วารสาร บอร์ด และ KM Web • เจ้าภาพรับสมัครสมาชิกตาม Domain ไม่เกิน 40 คน (ผู้สนใจอื่นๆ ทาง Web ภายหลัง) • แจ้งกำหนดการประชุม
การจัดการความรู้งานบริการพยาบาล ตารางเวลาและสถานที่ การประชุม CoP ประจำเดือนมีนาคม 2548 ผู้รับสมัครลงทะเบียนเพื่อเข้าร่วมประชุม CoP นั้นๆ
การแลกเปลี่ยนรู้ CoPในเวทีจริง 2 ครั้ง/เดือน
จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ CoP ครั้งที่ 1 21 ก.พ.48 ครั้งที่ 2 16 ส.ค.48
จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Core Team
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเวทีเสมือนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเวทีเสมือน
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเวทีเสมือนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเวทีเสมือน
ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกลุ่ม รู้สึกเปิดเผยและมีความไว้วางใจกัน
เครือข่ายในการทำงาน และที่ปรึกษา
CoP การระบุตัวผู้ป่วยนวตกรรมป้ายข้อมือสำหรับผู้ป่วยเด็ก
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอดโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอด
CoP การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ธนาคารนมแม่
ปัจจัยความสำเร็จ • ผู้นำ • วัฒนธรรมองค์กร • ความรู้ความเช้าใจของผู้รับผิดชอบโครงการ • ความสามารถคุณอำนวย • ความพร้อมสิ่งอำนวยความสะดวก เวทีจริง เวทีเสมือน • ผู้ปฏิบัติ มี ใช้ สร้าง แลกเปลี่ยน ความรู้อย่างต่อเนื่อง • เห็นผลลัพธ์
AAR After Action Review เป้าหมายของการเข้าร่วมประชุมครั้งนี้คืออะไร สิ่งใดที่บรรลุเป้าหมายคืออะไร เพราะ สิ่งที่เกินความคาดหวัง สิ่งที่ไม่บรรลุเป้าหมายคืออะไร เพราะ คิดจะกลับไปทำอะไรต่อ การช่วยให้ความรู้ที่เหมาะสมฝังลึกและกระตุ้นให้มีแรงปราถนาในการดำเนินการต่อ