200 likes | 291 Views
การสัมมนาวิชาการ “ เราได้อะไรจาก... สำมะโนอุตสาหกรรม พ.ศ.2550 ” เรื่อง ประโยชน์ของข้อมูลจากสำมะโนอุตสาหกรรม. นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รองเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ประเด็นเพื่อนำเสนอ. ความสำคัญของภาคอุตสาหกรรมในระบบเศรษฐกิจไทย ข้อมูลสำมะโนอุตสาหกรรม นำเสนออะไร
E N D
การสัมมนาวิชาการ“เราได้อะไรจาก... สำมะโนอุตสาหกรรมพ.ศ.2550”เรื่อง ประโยชน์ของข้อมูลจากสำมะโนอุตสาหกรรม นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รองเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ประเด็นเพื่อนำเสนอ • ความสำคัญของภาคอุตสาหกรรมในระบบเศรษฐกิจไทย • ข้อมูลสำมะโนอุตสาหกรรม นำเสนออะไร • ความเชื่อมโยงของระบบข้อมูลเศรษฐกิจไทย • ประโยชน์ของข้อมูลสำมะโนอุตสาหกรรม • ข้อเสนอแนะการจัดทำข้อมูลสำมะโนอุตสาหกรรม
ความสำคัญของภาคอุตสาหกรรมในระบบเศรษฐกิจไทยความสำคัญของภาคอุตสาหกรรมในระบบเศรษฐกิจไทย โครงสร้างเศรษฐกิจไทยระหว่างปี 2539-2548
ความสำคัญของภาคอุตสาหกรรมในระบบเศรษฐกิจไทยความสำคัญของภาคอุตสาหกรรมในระบบเศรษฐกิจไทย
ความสำคัญของภาคอุตสาหกรรมในระบบเศรษฐกิจไทยความสำคัญของภาคอุตสาหกรรมในระบบเศรษฐกิจไทย ที่มา:สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ความสำคัญของภาคอุตสาหกรรมในระบบเศรษฐกิจไทยความสำคัญของภาคอุตสาหกรรมในระบบเศรษฐกิจไทย
ข้อมูลสำมะโนอุตสาหกรรม นำเสนออะไร • การจัดทำสำมะโนอุตสาหกรรมของประเทศไทย เป็นการรวบรวมข้อมูลจากทุกหน่วยอุตสาหกรรม มีลักษณะเป็นข้อมูลเชิงโครงสร้าง (Benchmark Data)จัดทำระยะยาวโดยทั่วไปทุกๆ 10 ปี • ครั้งที่ 1 จัดทำปี พ.ศ. 2507 • ครั้งที่ 2 จัดทำปี พ.ศ. 2540ยกเว้นสถานประกอบการที่มีคนงานต่ำกว่า 10 คน • ครั้งที่ 3 จัดทำปี พ.ศ. 2550 ทุกสถานประกอบการตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป • สำมะโนอุตสาหกรรมนำเสนอ 2 ส่วนหลัก • ข้อมูลทั่วไปของสถานประกอบการ เช่น จำนวน ประเภท รูปแบบการจัดตั้งและขนาดของสถานประกอบการ • ข้อมูลการดำเนินกิจการของสถานประกอบการ เช่น มูลค่าการผลิต ต้นทุนการผลิต สินทรัพย์ถาวร จำนวนคนงานและค่าตอบแทนแรงงาน สินค้าคงคลัง ฯลฯ
ความเชื่อมโยงของระบบข้อมูลเศรษฐกิจไทยความเชื่อมโยงของระบบข้อมูลเศรษฐกิจไทย รูปแบบบริหารและจัดการระบบสถิติแบ่งได้ 2 แบบ 1. ระบบ Centralization: สำนักงานสถิติกลางรับผิดชอบการสำรวจและจัดเก็บข้อมูลสถิติสำคัญทั้งหมดเป็นผลให้การรวบรวมข้อมูลมีเอกภาพ 2. ระบบ Decentralization:สำนักงานสถิติกลางรับผิดชอบการสำรวจและจัดเก็บสถิติข้อมูลเชิงโครงสร้าง (Benchmark Data)ที่สำคัญเพื่อเป็นฐานข้อมูลกลางสำหรับหน่วยงานอื่นๆ หรือสถาบันทางวิชาการนำไปจัดทำข้อมูลอื่นๆ การบริหารจัดการระบบสถิติของประเทศไทยจัดอยู่ในระบบ Decentralization
ความเชื่อมโยงของระบบข้อมูลเศรษฐกิจไทยความเชื่อมโยงของระบบข้อมูลเศรษฐกิจไทย ข้อมูลสถิติจำแนกโดยลักษณะได้ 2 ประเภทหลัก • Benchmark Dataข้อมูลเชิงโครงสร้าง หรือ ข้อมูลพื้นฐานอ้างอิง มีรายละเอียดมาก ความถี่ต่ำ เผยแพร่ช้า เช่น ข้อมูลสำมะโนอุตสาหกรรม ตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต • Current Dataข้อมูลปัจจุบัน มีรายละเอียดน้อย มีความถี่สูง เผยแพร่รวดเร็ว เช่น ข้อมูลดัชนีอุตสาหกรรมรายเดือน ข้อมูลดัชนีราคาผู้ผลิต ข้อมูลดัชนีราคาผู้บริโภค
ความเชื่อมโยงของระบบข้อมูลเศรษฐกิจไทยความเชื่อมโยงของระบบข้อมูลเศรษฐกิจไทย
Industrial Census 2540 ความเชื่อมโยงของระบบข้อมูลเศรษฐกิจไทย Industrial Census 2550 Benchmark Data Benchmark Data Current Data
Industrial Census 2540 ความเชื่อมโยงของระบบข้อมูลเศรษฐกิจไทย Industrial Census 2550 Benchmark Data Benchmark Data Current Data
IC C I G (X-M) VA Industrial Census 2540 ความเชื่อมโยงของระบบข้อมูลเศรษฐกิจไทย Input / Output Table ข้อมูลพื้นฐานภาคอุตสาหกรรม : • มูลค่าเพิ่ม • สินค้าคงคลัง • ค่าตอบแทนแรงงาน • มูลค่าผลผลิต • โครงสร้างต้นทุนการผลิต
IC C I G (X-M) VA Industrial Census 2540 ความเชื่อมโยงของระบบข้อมูลเศรษฐกิจไทย Input / Output Table • Current Data • Industrial Index • PPI • etc. Benchmark Data
ประโยชน์ของข้อมูลสำมะโนอุตสาหกรรมประโยชน์ของข้อมูลสำมะโนอุตสาหกรรม • ประโยชน์ทางตรง • ประโยชน์ในการเป็น Framework ของหน่วยงานต่างๆในการสำรวจข้อมูลระยะสั้น เช่น ดัชนีอุตสาหกรรม ดัชนีราคาผู้ผลิต ฯลฯ • เป็นฐานข้อมูลเบื้องต้นสำหรับการจัดทำ GDP และ GPP ของประเทศ ที่ สศช.เป็นผู้จัดทำ • ประโยชน์ทางอ้อม • ข้อมูลระยะสั้นต่างๆที่จัดทำโดยหน่วยงานอื่นๆเป็นข้อมูลพื้นฐานในการจัดทำข้อมูล GDP และ GPP ของประเทศ ที่ สศช. เป็นผู้จัดทำ
ประโยชน์ของข้อมูลสำมะโนอุตสาหกรรมประโยชน์ของข้อมูลสำมะโนอุตสาหกรรม 1997 Industrial Census Whole Kingdom
ประโยชน์ของข้อมูลสำมะโนอุตสาหกรรมประโยชน์ของข้อมูลสำมะโนอุตสาหกรรม
ข้อเสนอแนะการจัดทำข้อมูลสำมะโนอุตสาหกรรมข้อเสนอแนะการจัดทำข้อมูลสำมะโนอุตสาหกรรม • หลักเกณฑ์ของข้อมูลที่ดี • ความถูกต้องน่าเชื่อถือ (Accuracy) • ความครอบคลุม (Coverage) • ความต่อเนื่อง (Continuity) • ความสอดคล้อง (Consistency)
ข้อเสนอแนะการจัดทำข้อมูลสำมะโนอุตสาหกรรมข้อเสนอแนะการจัดทำข้อมูลสำมะโนอุตสาหกรรม • ควรมีการประสานกับหน่วยงานผู้ใช้หลักในการจัดทำสำมะโนอุตสาหกรรม เช่น สศช. ก.อุตสาหกรรม ฯลฯ เพื่อให้ข้อมูลตอบสนองต่อประโยชน์ของผู้ใช้ และทำให้ระบบข้อมูลของประเทศมีความสอดคล้อง • จัดทำอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอทุก 5 หรือ 10 ปี เนื่องจากเป็นข้อมูลเชิงโครงสร้างเศรษฐกิจอุตสาหกรรมที่สำคัญต่อการจัดทำข้อมูลอื่นๆ • ควรจัดทำโดยละเอียดทั้งการจำแนกประเภทและพื้นที่ระดับจังหวัด • วิเคราะห์เปรียบเทียบผลข้อมูลสำมะโนอุตสาหกรรมแต่ละครั้งเพื่อนำเสนอการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจอุตสาหกรรมของประเทศ และเป็นการตรวจสอบความถูกต้อง ครอบคลุม และสอดคล้องของข้อมูล ทั้งในปีที่จัดทำและต่างช่วงเวลา