190 likes | 398 Views
ตัวชี้วัดที่ 14. ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามขั้นตอน การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี). Public Management Quality Award. ( PMQA). ขั้นตอนตามตัวชี้วัด ตามที่ กพร. กำหนด. 1. การเข้าประชุมอบรม ที่ กพร. จัดที่ กทม. (เดือนพฤษภาคม 2549).
E N D
ตัวชี้วัดที่ 14 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามขั้นตอนการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี) Public Management Quality Award (PMQA)
ขั้นตอนตามตัวชี้วัด ตามที่ กพร. กำหนด 1. การเข้าประชุมอบรม ที่ กพร. จัดที่ กทม. (เดือนพฤษภาคม 2549) 2. การประชุมชี้แจงขยายผลผู้เกี่ยวข้องระดับอำเภอ(1 มิถุนายน 2549) 3. ประเมินลักษณะสำคัญขององค์กร 15 ข้อ 4. การประเมินตามเกณฑ์คุณภาพ หมวด 1 - 6 รวมทั้งหมวดที่ 7 (ผลลัพธ์) 90 ข้อ 5. การประเมินจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง( Opportunity for Improvement = OFI ) 6. การเสนอแผนปรับปรุงและเลือกแผนที่จะปรับปรุงเร่งด่วน 7. การนำเสนอต่อ Steering Committee (22 ก.ย.49)
PMQAคือ การประเมินองค์กรด้วยตนเอง ตามเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ พร้อมกับการทราบจุดอ่อน และการหาโอกาสในการปรับปรุงองค์กร (OFI) เพื่อจัดทำแผนการปรับปรุง โดยจะเลือกการจัดทำแผนปรับปรุงตามลำดับความสำคัญและเร่งด่วน
การประเมินตนเองตามเกณฑ์การประเมินตนเองตามเกณฑ์ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 1. ลักษณะสำคัญขององค์กร มีเกณฑ์คำถาม 15 ข้อ โดยเป็นการอธิบายลักษณะภารกิจ บทบาทตามกฎหมาย รวมทั้งทิศทางของหน่วยงานที่จัดทำ 6 หน่วยงานหลัก คือ 1.1 ที่ทำการปกครองอำเภอ 1.2 สำนักงานเกษตรอำเภอ 1.3 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ 1.4 สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ 1.5 ที่ทำการสัสดีอำเภอ 1.6 สำนักงานปศุสัตว์อำเภอ
2. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มีเกณฑ์คำถาม 90 ข้อ โดยแบ่งเป็น 6 หมวด และผลลัพธ์การดำเนินการ ดังนี้ 2.1 หมวด 1 การนำองค์กร จะเป็นคำถามที่เกี่ยวกับ - การกำหนดทิศทาง (วิสัยทัศน์ พันธกิจ) - การกำกับดูแลตนเอง (การตรวจสอบ) - การทบทวน/ ตรวจสอบ (การรายงาน, สื่อ/ช่องทางการ ตรวจสอบ - ความรับผิดชอบในการดำเนินกิจการของหน่วยงาน
2.2 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การทำยุทธศาสตร์ (การมีส่วนร่วม, การเผยแพร่, การนำไปปฏิบัติ) - การจัดทำแผนปฏิบัติ (กิจกรรม/โครงการ, การรายงาน, ความถี่การรายงาน 2.3 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย - กำหนดขอบเขตคำว่าผู้รับบริการ - ช่องทาง/ สื่อ ในการรับข้อมูลจากผู้รับบริการ - การวัดความพึงพอใจ - การนำเสนอปัญหาอุปสรรค เพื่อร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้
2.4 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ - การเลือกข้อมูลและสารสนเทศของส่วนราชการเพื่อการนำไปวิเคราะห์ ในการวางแผนการทำงาน - การวิเคราะห์ผลการดำเนินการที่เปรียบกับตัวชี้วัดและความสำเร็จ รวมทั้งการใช้จ่ายงบประมาณ และความพึงพอใจ - การจัดการความรู้ด้านสารสนเทศ การส่งเสริมการถ่ายทอดความรู้รวมทั้งการแสวงหาความรู้เทคนิคใหม่ ๆ
2.5 หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล - การจัดโครงสร้างในการบริหารงานบุคคล - ระบบการสื่อสารในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล (เช่น ประชุม อบรม) - ระบบการประเมินผลงาน - การที่บุคลากรทราบทิศทางความก้าวหน้า การพัฒนาบุคลากร การสร้างแรงจูงใจ และสวัสดิการต่าง ๆ
2.6 หมวด 6 การจัดการกระบวนการ - กระบวนการที่สร้างคุณค่า คืองานที่เป็นประโยชน์และส่งผลต่อความรับผิดชอบ / การให้บริการประชาชน / ตอบสนองตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ซึ่งมีทั้งหมด 12 กระบวนงาน - กระบวนการสนับสนุน เป็นกระบวนงานที่ช่วยกระบวน การสร้างคุณค่า ได้แก่ กิจกรรม/โครงการที่เป็นตัวสนับสนุน เช่น งานการเงิน, การตรวจสอบ
2.7 หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ - ใช้หลัก BSC คือ มิติด้านประสิทธิผล, มิติคุณภาพ มิติประสิทธิภาพ และมิติการพัฒนาองค์กร - โดยยึดคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัดกับอำเภอ
ผลการประเมินจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง OFI และแผนปรับปรุง 1. หมวดที่ 1 มีการเสนอ OFI และแผนปรับปรุง 3 รายการ คือ 1.1 แผนการพัฒนาวิสัยทัศน์ 1.2 แผนการพัฒนาการกำกับดูแลตนเองที่ดี 1.3 แผนการพัฒนาชุมชนแบบมีส่วนร่วม 2. หมวดที่ 2 มีการเสนอ OFI และแผนปรับปรุง 2 รายการ คือ 2.1 แผนการจัดทำยุทธศาสตร์อำเภอ 2.2 แผนการทบทวนและกำหนดตัวชี้วัดของอำเภอ
3. หมวดที่ 3 มีการเสนอ OFI และแผนปรับปรุง 4 รายการ คือ 3.1 แผนการทบทวนวิธีการรับฟังและเรียนรู้ความต้องการ/ความคาดหวัง 3.2 แผนการทบทวนวิธีการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า/ผู้มีส่วนได้เสีย 3.3 แผนการจัดทำระบบในการติดตามข้อมูลป้อนกลับ 3.4 แผนการจัดหาข้อมูลเชิงเปรียบเทียบความพึงพอใจของผู้รับบริการ
4. หมวดที่ 4 มีการเสนอ OFI และแผนปรับปรุง 3 รายการ คือ 4.1 แผนทบทวนวิธีการเลือกและรวบรวมข้อมูลที่ถูกต้อง 4.2 แผนการจัดการข้อมูลสารสนเทศ 4.3 แผนการแลกเปลี่ยนความรู้ภายในองค์กร 5. หมวดที่ 5 มีการเสนอ OFI และแผนปรับปรุง 4 รายการ คือ 5.1 แผนการประเมินผลการอบรมบุคลากร 5.2 แผนเสริมสร้างด้านสวัสดิการ 5.3 แผนเสริมสร้างความผาสุก 5.4 แผนปรับปรุงระบบการประเมินความพึงพอใจ *** สำหรับหมวดที่ 6 – 7 ไม่มี OFI ***
ผลการเลือกและจัดลำดับแผน เพื่อปรับปรุง 1. แผนการพัฒนาวิสัยทัศน์อำเภอ 2. แผนการจัดทำยุทธศาสตร์อำเภอ 3. แผนการจัดทำระบบในการติดตามข้อมูลป้อนกลับอย่างทันท่วงที 4. แผนการทบทวนวิธีการเลือกและรวบรวมข้อมูลที่ถูกต้อง 5. แผนเสริมสร้างด้านสวัสดิการ 6. แผนเสริมสร้างความผาสุก 7. แผนปรับปรุงการประเมินความพึงพอใจ
สรุปการจัดทำ (PMQA) 1. มีการระดมความคิดร่วมกันของทีมงาน 2. ได้มีการสร้างองค์ความรู้ในระบบการพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการ 3. ได้มีโอกาสรับรู้จุดอ่อนและข้อที่ต้องปรับปรุงตนเอง 4. ได้เสริมสร้างวุฒิภาวะแห่งการเรียนรู้อย่างมีระบบและเทคนิค การพัฒนาคุณภาพมากขึ้น 5. ได้มีการจัดทำเอกสารมีผลการประเมินตนเองที่ใช้อ้างอิงทางวิชาการและการนำแผนไปปรับปรุงการทำงานพัฒนาคุณภาพในโอกาสต่อไป
ปัญหาอุปสรรคของ PMQAในหน่วยงานระดับอำเภอ 1. การกำหนดหลายหน่วยงานมีความแตกต่างกันในหลายหมวด 2. การใช้ศัพท์วิชาการทางการประเมินตามเกณฑ์เข้าใจค่อนข้างยาก 3………………………………….. 4………………………………….. 5………………………………….. ฯลฯ
ขอขอบคุณ ทุกท่านที่ให้เกียรติรับฟัง สวัสดีครับ
ก้าวต่อไป...การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ จ.ลพบุรี 29 ก.ย.49 เวลา 13.00-16.30 น. ห้องฯ ทานตะวัน ชี้แจงแนวทาง มอบภารกิจ 25-26 ต.ค.49 เวลา 8.30-16.30 น.ศูนย์ประชุมฯ Work Shop ลักษณะสำคัญ Work Shop หมวด 1 – หมวด 6