1 / 25

ไฟฟ้า

ไฟฟ้า. ชุดที่ 3. เอกสารอ้างอิง. Dahl (2004) International Energy Markets: Understanding Pricing, Policies and Profits บทที่ 4 และ 5 เอกสารที่เกี่ยวกับอัตราค่าไฟฟ้าใน website ของ กฟผ. ( www.egat.co.th) กฟน. (www.mea.or.th) และ กฟภ. ( www.pea.or.th). เอกสารอ้างอิง.

Download Presentation

ไฟฟ้า

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ไฟฟ้า ชุดที่ 3

  2. เอกสารอ้างอิง • Dahl (2004) International Energy Markets: Understanding Pricing, Policies and Profitsบทที่ 4 และ 5 • เอกสารที่เกี่ยวกับอัตราค่าไฟฟ้าใน website ของ กฟผ. (www.egat.co.th) กฟน. (www.mea.or.th) และ กฟภ. (www.pea.or.th)

  3. เอกสารอ้างอิง • ภูรี สิรสุนทร (2549) การกำกับดูแลอัตราค่าไฟฟ้าของประเทศไทย: บทวิเคราะห์และทางเลือก วารสารเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์ Vol. 24 No. 3 • ทบทวนศ.311 เรื่องการตั้งราคาของหน่วยผลิตที่มีอำนาจเหนือตลาด

  4. โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าของไทยโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าของไทย ค่าไฟฟ้าที่เก็บกับผู้บริโภคประกอบด้วย ค่าไฟฟ้าฐาน (Base tariff) ค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (Ft) ภาษีมูลค่าเพิ่ม (7%) 6

  5. ค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (ค่า Ft) ค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ หรือค่าไฟฟ้าผันแปร (ค่า Ft) เป็นค่าไฟฟ้าที่ปรับเปลี่ยนเพิ่มขึ้นหรือลดลง ตามการเปลี่ยนแปลงของต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านเชื้อเพลิงและค่าซื้อไฟฟ้า ที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของสามการไฟฟ้า (กฟผ. กฟน. กฟภ.) 7

  6. ค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (ค่า Ft) เป็นกลไกในการส่งผ่าน (pass through) ต้นทุนที่ไม่สามารถควบคุมได้ให้แก่ผู้บริโภค คิดเฉพาะส่วนที่แตกต่างไปจากต้นทุนที่อยู่ในการคำนวณค่าไฟฟ้าฐาน ปรับ Ft ได้ทุก 4 เดือน 8

  7. ค่า Ft สูตร Ft มีการปรับปรุงสูตรหลายครั้ง เพื่อให้เกิดความเหมาะสมกับสภาวการณ์ของต้นทุนการผลิตไฟฟ้า ณ ขณะนั้นๆ เมื่อเดือนตุลาคม 2548 ได้มีการปรับปรุงสูตร Ft โดยให้ Ft ขายปลีกประกอบด้วย Ft ขายปลีกคงที่ (46.83 สตางค์/หน่วย) ΔFt ขายปลีก 9

  8. ค่า Ft ขายปลีกคงที่ Ft ขายปลีกคงที่คือประมาณการค่า Ft ขายปลีก ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2548 – พฤษภาคม 2548 10

  9. ค่า ΔFt ขายปลีก ΔFt ขายปลีก คือการเปลี่ยนแปลงจากค่าเฉลี่ย ณ เดือน กุมภาพันธ์ 2548- พฤษภาคม 2548 ของ ค่าเชื้อเพลิงของ กฟผ. ค่าซื้อไฟฟ้าจาก IPPs, SPPs และต่างประเทศ ค่าใช้จ่ายตามนโยบายที่รัฐกำหนด (การส่งเงินเข้ากองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้าและ VSPP Adder ฝ่ายจำหน่าย) 11

  10. 12

  11. ค่าไฟฟ้ารวม (บาทต่อหน่วย) 13

  12. 14

  13. ค่าไฟฟ้าเท่ากันทั่วประเทศ (Uniform Tariff) • สามการไฟฟ้าจำเป็นต้องให้บริการอย่างทั่วถึง • ชนบทและพื้นที่ห่างไกล มีต้นทุนในการส่ง และการจำหน่ายไฟฟ้าสูงกว่าพื้นที่ในเขตเมือง หากตั้งราคาตามต้นทุนจริงที่เกิดขึ้น อาจทำให้ประชาชนในพื้นที่ห่างไกลต้องจ่ายในอัตราที่แพงกว่าและอาจไม่สามารถเข้าถึงบริการได้

  14. ค่าไฟฟ้าเท่ากันทั่วประเทศ (Uniform Tariff) • การใช้โครงสร้างค่าไฟฟ้าฐาน (ขายปลีก) เป็นอัตราเดียวทั่วประเทศ (Uniform tariff) จึงจำเป็น • และต้องให้การอุดหนุนไขว้ (Cross subsidies) • แบบที่หนึ่ง การให้เงินอุดหนุนระหว่างการไฟฟ้าด้วยกันเอง • แบบที่สอง การให้เงินอุดหนุนระหว่างผู้ใช้ไฟฟ้าแต่ละกลุ่ม

  15. การอุดหนุนแบบที่หนึ่งการอุดหนุนแบบที่หนึ่ง • กฟน. จ่ายเงินชดเชยรายได้ให้แก่ กฟภ. ในปี 2548-2551 (เนื่องจาก กฟภ. มีต้นทุนในการจัดหาไฟฟ้าสูงกว่า กฟน. แต่ขายในอัตราเดียวกัน)

  16. การอุดหนุนแบบที่สอง • ผู้ใช้ประเภทบ้านอยู่อาศัย (โดยเฉพาะที่ใช้ไฟน้อย) จ่ายค่าไฟฟ้าน้อยกว่าต้นทุนส่วนเพิ่ม โดยได้รับการชดเชยจากผู้ใช้ประเภทกิจการธุรกิจขนาดเล็ก กลาง ใหญ่ และเฉพาะอย่าง (ซึ่งจ่ายค่าไฟฟ้าสูงกว่าต้นทุนส่วนเพิ่ม)

  17. ค่าไฟฟ้าเท่ากันทั่วประเทศ (Uniform Tariff) • ข้อบกพร่อง • เป็นการเก็บภาษีผู้ใช้กลุ่มหนึ่งเพื่อมาอุดหนุนอีกกลุ่มหนึ่ง => ยุติธรรมหรือไม่? • ขาดการจัดเก็บข้อมูลอย่างโปร่งใส ว่าได้ให้เงินอุดหนุนไปแล้วเท่าใด • จะทำได้เมื่อกิจการไฟฟ้านั้นเป็นของรัฐและมีอำนาจเหนือตลาด สามารถตั้ง (P>MC) สำหรับผู้บริโภคบางกลุ่ม

  18. ค่าไฟฟ้าฟรีสำหรับผู้ใช้รายย่อยค่าไฟฟ้าฟรีสำหรับผู้ใช้รายย่อย • รัฐบาลอภิสิทธิ์ยอมให้ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทครัวเรือนรายย่อย (ใช้ไม่เกินเดือนละ 150/90 หน่วย) ไม่ต้องจ่ายค่าไฟฟ้า • ในช่วงแรก (2551 – 2553) รัฐบาลใช้เงินอุดหนุนจากงบประมาณ • ในช่วงต่อมา (2554 เป็นต้นมา) ผลักไปให้ผู้ใช้ไฟรายใหญ่ (โรงงาน) เป็นผู้รับภาระปีละ 12,000 ล้านบาท

  19. โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า 2554 - 2558 • คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (energy regulator) เป็นผู้พิจารณา • โครงสร้างค่าไฟไม่เปลี่ยนจากเดิมมากนัก เช่น การแบ่งประเภทผู้ใช้ ประเภทอัตราค่าไฟ TOU TOD • 90 หน่วยแรกใช้ฟรีสำหรับผู้ใช้รายย่อย (ขนาดมิเตอร์ไม่เกิน 5 แอมแปร์) ตามนโยบายรัฐบาล

  20. โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า 2554 - 2558 • นำค่า Ft ในช่วงเดือน พฤษภาคม -สิงหาคม 2554 จำนวน 0.9581 บาท/หน่วย (Ft คงที่ 0.4683 บาท/หน่วย และ Ft ขายปลีกเฉลี่ย 0.4898 บาท/หน่วย) ไปปรับเพิ่มในอัตราค่าไฟฟ้าขายปลีก ดังนั้น ค่า Ft ที่จะเรียกเก็บงวดแรกในเดือนกรกฎาคม 2554 จะมีค่าเริ่มต้นเท่ากับศูนย์ (0) • แต่ลด Ft ให้ 6 สตางค์/หน่วย เพราะการไฟฟ้าปรับลดเงินลงทุนจากแผน

  21. 2551 : อัตราค่าไฟฟ้าประเภท 1.2 เฉลี่ยเท่ากับ 3.57 บาท/หน่วย

  22. กรกฎาคม 2551(โครงสร้างใหม่): อัตราค่าไฟฟ้าประเภท 1.2 เฉลี่ยเท่ากับ 3.76 บาท/หน่วย

More Related