370 likes | 652 Views
กิจกรรมนักศึกษา กับการประกันคุณภาพการศึกษา. ส่วน ประกันคุณภาพการศึกษา และพัฒนาหลักสูตร. Office: 053-916-378 ,053-916-408 . การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. ( 174 ประเทศไทย UNDP - พ.ศ. 2543 โดยดูจาก อายุขัย , การศึกษา และมาตรฐานการครองชีพ ). ญี่ปุ่น สิงคโปร์ เกาหลีใต้
E N D
กิจกรรมนักศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษากิจกรรมนักศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา ส่วนประกันคุณภาพการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร Office: 053-916-378 ,053-916-408
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ( 174 ประเทศไทย UNDP - พ.ศ. 2543 โดยดูจาก อายุขัย , การศึกษา และมาตรฐานการครองชีพ ) ญี่ปุ่น สิงคโปร์ เกาหลีใต้ มาเลเซีย ไทย อันดับที่ 9 24 31 61 7 6
ความสามารถในการแข่งขันความสามารถในการแข่งขัน ( IMD ดูจาก 290 เกณฑ์ใน 8 กลุ่ม : เศรษฐกิจ , ความเป็นนานาชาติ, รัฐบาล , การเงิน , โครงสร้างพื้นฐาน , การจัดการ ,วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี , และทรัพยากรมนุษย์ ) พ.ศ.2549 ( 47 ประเทศ ) 20 5 27 35 30 ญี่ปุ่น สิงคโปร์ เกาหลีใต้ มาเลเซีย ไทย
ระบบการศึกษาไทยข้อมูลเปรียบเทียบ พ.ศ.2549 1) ค่าใช้จ่ายด้านการศึกษาไทย 4.4% ของ งบประมาณฯ สูงกว่าประเทศเพื่อนบ้านในเอเชีย ยกเว้น มาเลเซีย 2) อัตราการเรียนมัธยม 48% ของวัยเรียน ต่ำกว่าประเทศเพื่อนบ้าน 3) ผลสัมฤทธิ์ทางคณิตศาสตร์ & วิทยาศาสตร์ ไทยต่ำกว่าเกือบทุกประเทศในเอเชีย ยกเว้นอินโดนิเซีย และ ฟิลิปปินส์
4) ประชากรไม่รู้หนังสือ ( อายุ 15 ปีขี้นไป ) 5.3% 5) ระดับการศึกษาไม่สามารถตอบสนอง ความสามารถ ในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ ( อันดับที่ 47 ใน 49 ประเทศ ) 6) การศึกษาระดับมหาวิทยาลัย ไม่สามารถตอบสนอง ความสามารถ ในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ ( อันดับที่ 46 ใน 49 ประเทศ ) 7) วิศวกรที่มีคุณวุฒิตามความต้องการของตลาดแรงงาน ในประเทศ มีน้อย ( 42 ใน 49 ประเทศ ) 8) ความร่วมมือระหว่างบริษัทธุรกิจและมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะการถ่ายโอนเทคโนโลยีซึ่งกันและกัน มีน้อย
ปัญหาการศึกษาไทย 2550 1. คุณภาพการศึกษาตกต่ำ ไม่ทันโลก ช่องว่างคุณภาพระหว่างสถานศึกษา 2. ความเหลื่อมล้ำด้านโอกาส ระดับการศึกษาต่ำ 3. การศึกษาแปลกแยกจากสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม 4. ขาดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ ขาด national benchmarking
การกระจายรายได้ของคนไทย(การครอบครองทรัพย์สิน)การกระจายรายได้ของคนไทย(การครอบครองทรัพย์สิน) 2549 คนรวย 20% 57.8% คนชั้นกลาง 60% 38.3% คนจน 20% 3.9%
ประเด็นหลักการศึกษาไทยประเด็นหลักการศึกษาไทย 1.พัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องและ ถ้วนทั่ว 2.กระจายโอกาสการศึกษาไปยังคนไทยทุกหมู่เหล่า - ทุกพื้นที่
แผนพัฒนา ยุทธศาสตร์ มฟล. การ พัฒนานักศึกษา บุคลากร นักศึกษา การบริหารจัดการ การเรียนการสอน ใต้ร่มพระบารมี แม่ฟ้าหลวง ของเราทุกคน ระบบการประกันคุณภาพฯ
กิจกรรมนักศึกษา เป้าหมายของการพัฒนาคุณภาพ • กิจกรรมการบริหารจัดการ • กิจกรรมการเรียนการสอน • กิจกรรมพัฒนานักศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาเกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไรการประกันคุณภาพการศึกษาเกี่ยวข้องกับนักศึกษาอย่างไร นักเรียน (Input) มหาวิทยาลัย (Process) บัณฑิต (Output) การศึกษาตาม หลักสูตร การเรียนการสอน การพัฒนานักศึกษา การเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม
3 ประเด็นชวนคุยกับการประกันคุณภาพ กิจกรรมนักศึกษา • หลักการและนโยบายการประกันคุณภาพ • ระบบและกระบวนการประกันคุณภาพ • การประกันคุณภาพ สำหรับงานกิจกรรมนักศึกษา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 47 “ ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับประกอบด้วยการประกันคุณภาพภายในและระบบการประกันคุณภาพนอกระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง ”
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 48 “ ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา ที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องโดยมีการจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก ”
สรุปการประกันคุณภาพระดับอุดมศึกษาสรุปการประกันคุณภาพระดับอุดมศึกษา • ต้องมีการประกันคุณภาพภายในและภายนอก • ต้องมีการประกันคุณภาพทุกกิจกรรมที่ดำเนินการในมหาวิทยาลัย • ต้องมีการรายงานผลการดำเนินงาน และเปิดเผยต่อสาธารณชน เป็นประจำทุกปี
นโยบายการประกันคุณภาพ ระดับอุดมศึกษา • ให้สถาบันมีเสรีภาพทางวิชาการ (Academic Freedom) • ให้สถาบันมีความเป็นอิสระในการดำเนินงาน(Institutional Autonomy) • ให้การตรวจสอบสถาบันเป็นไปตามความพร้อมของแต่ละสถาบันตามหลักการความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้(Accountability)
ระบบการประกันคุณภาพ การควบคุมคุณภาพ(Quality Control) หมายถึง การจัดให้มีระบบและกลไกในการควบคุมคุณภาพภายในขององค์ประกอบต่าง ๆ ในอันที่จะส่งผลต่อคุณภาพของบัณฑิตและผลงานด้านต่าง ๆ ซึ่งต้องดำเนินการอย่างเป็นระบบ ภายใต้หลักการควบคุมคุณภาพที่เหมาะสม การตรวจสอบคุณภาพ(QualityAudit) หมายถึง การตรวจสอบการดำเนินงานของระบบและกลไกควบคุมคุณภาพภายในที่กำหนดไว้ เพื่อพิจารณาว่า กลไกการควบคุมคุณภาพ ยังคงดำเนินการอย่างต่อเนื่องและได้ใช้ระบบพัฒนาขึ้นอย่างสม่ำเสมอ มีขั้นตอนการดำเนินงานที่ทำให้เชื่อได้ว่า จะเกิดผลงานที่มีคุณภาพตามดัชนีและตัวชี้วัดที่กำหนด
การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) หมายถึง กระบวนการวิเคราะห์และเปรียบเทียบผลการดำเนินงานของหน่วยงานกับเป้าหมาย หรือดัชนีชี้วัดที่กำหนด เพื่อประเมินว่าผลการดำเนินงานที่ได้จากการใช้ระบบการประกันคุณภาพ หรือระบบควบคุมคุณภาพแล้ว ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเชิงคุณภาพมากน้อยเพียงใด ดัชนีชี้วัดคุณภาพ»มาตรฐานคุณภาพ Key Performance Indicator:KPI» Quality
การประกันคุณภาพภายนอกการประกันคุณภาพภายนอก เป็นระบบการประกันคุณภาพโดย “สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)” (สมศ.) ซึ่งเป็นองค์กร ที่ตั้งขึ้นจากพระราชกฤษฎีกา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 โดย สมศ. มีหน้าที่ ประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาของสถาบัน ซึ่งกระทำอย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุก ๆ 5 ปี เพื่อกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถาบันฯ อย่างต่อเนื่อง
การประกันคุณภาพภายนอก เพื่อให้มหาวิทยาลัย ... • ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาการศึกษา (Awareness) • มีความพยายาม ในการพัฒนาสู่คุณภาพการศึกษา (Attempt) • มีผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงาน ที่ได้มาตรฐาน (Achievement)
V S ควบคุม การดำเนินงาน ตามมาตรฐานคุณภาพ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และแผนดำเนินงาน ตรวจสอบ และประเมิน ตามองค์ประกอบคุณภาพ รายงานสรุป ข้อมูลป้อนกลับเพื่อการพัฒนา / ปรับปรุง รายงาน ผลการตรวจประเมิน ตรวจ และ ประเมิน โดย สมศ. การติดตาม ทุก 5 ปี การประกันคุณภาพภายใน ภายนอก ประกันคุณภาพภายใน ประกันคุณภาพภายนอก ข้อมูลป้อนกลับสถาบัน เพื่อการพัฒนา ข้อมูลรายงานภาครัฐ
ตัวชี้วัดการดำเนินงานตัวชี้วัดการดำเนินงาน 3.1 มีการจัดบริการแก่นักศึกษาและศิษย์เก่า 3.2 มีการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาที่สอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตที่พึ่งประสงค์ 9มาตรฐานคุณภาพภายใน • ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดำเนินงาน • การเรียนการสอน • กิจกรรมพัฒนานิสิตนักศึกษา • การวิจัย • การบริการทางวิชาการแก่สังคม • การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม • การบริหารและการจัดการ • การเงินและงบประมาณ • ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ
แนวทางการจัดกิจกรรมนักศึกษาแนวทางการจัดกิจกรรมนักศึกษา • การจัดกิจกรรมต้องสอดคล้องกับวิสัยทัศน์และคุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์ของมหาวิทยาลัย • กรอบในการจัดกิจกรรม - กิจกรรมวิชาการ - กิจกรรมกีฬาและการส่งเสริมคุณภาพ - กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์และรักษาสิ่งแวดล้อม - กิจกรรมนันทนาการ - กิจกรรมส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
การจัดทำข้อเสนอโครงการการจัดทำข้อเสนอโครงการ • ระบุคุณลักษณะของผู้เข้าร่วมกิจกรรม • กำหนดเป้าหมายของผู้เข้าร่วมกิจกรรม • กำหนดตัวบ่งชี้เพื่อวัดความสำเร็จของกิจกรรม • ระบุวิธีการดำเนินกิจกรรม • ควรมีการประเมินผลกิจกรรม - จัดทำรายงานผลการจัดกิจกรรม
มาตรฐานคุณภาพภายนอก • ด้านคุณภาพบัณฑิต • ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ • ด้านการบริการวิชาการ • ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม • ด้านการพัฒนาสถาบันและบุคลากร • ด้านหลักสูตรและการเรียนการสอน • ด้านระบบการประกันคุณภาพ
แนวทางการดำเนินกิจกรรมของนักศึกษาแนวทางการดำเนินกิจกรรมของนักศึกษา • การดำเนินงานเชิงระบบ (PDCA) • ใช้ประสบการณ์/ ความรู้จากการดำเนินงานในอดีต • มีการประมวลผล เพื่อค้นหา Best practice • การเขียนรายงานBest practice Best practiceคือ การดำเนินงานกิจกรรมที่ดีขึ้น โดยสามารถอธิบายได้ว่า ดีแค่ไหน ? ดีอย่างไร ? และ ดีขึ้นเพราะอะไร ?
การดำเนินงานเชิงระบบPDCAการดำเนินงานเชิงระบบPDCA • Plan คือ การวางแผนงานจากวัตถุประสงค์ และเป้าหมายที่ได้กำหนดขึ้น • Do คือ การปฏิบัติตามขั้นตอนในแผนงานที่ได้กำหนดไว้ • Check คือ การตรวจสอบผลการดำเนินงานในแต่ล่ะขั้นตอนของแผนงานว่ามีปัญหาอะไรเกิดขึ้น จำเป็นต้องปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หรือแก้ไขขั้นตอนใดในแผนงานหรือไม่ อย่างไร • Actคือ การปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หรือแก้ไข ส่วนที่มีปัญหา หากไม่มีปัญหาใดๆ Act คือการ ยอมรับแนวทางการปฏิบัติตามแผนงานที่กำหนดนั้น เพื่อนำไปใช้ในการทำงานครั้งต่อไป Dr. W. Edwards Deming 1900 - 1993
การวางแผนอย่างเป็นระบบการวางแผนอย่างเป็นระบบ • กำหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมาย ให้คลอบคลุมความคาดหวังของสังคม และผู้มีส่วนได้เสีย โดยสอดคล้องกับเป้าหมายของมหาวิทยาลัย • มีแผนดำเนินงานตลอดกิจกรรม และอนาคต • ระบุดัชนีชี้วัดความสำเร็จของกิจกรรมให้ชัดเจน • จัดโครงสร้าง การมอบหมายภารกิจในการดำเนินกิจกรรม ให้เอื้อต่อการพัฒนา และสร้างสรรค์
การจัดกิจกรรมให้มีประสิทธิผลในระยะยาวการจัดกิจกรรมให้มีประสิทธิผลในระยะยาว • การทำงานเป็นทีมอย่างต่อเนื่องของคณะกรรมการ และผู้เกี่ยวข้อง • ทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบของทีมงาน • การสนับสนุนจากผู้บริหารและส่วนพัฒนานักศึกษา • บูรณาการระบบประกันคุณภาพ เข้ากับการดำเนินกิจกรรม
บทส่งท้าย • การจัดกิจกรรมควรเปลี่ยนแนวคิดจาก เน้นการจัดให้เกิด ไปเป็น เน้นภารกิจ และ เน้นการป้องกัน มากกว่า การแก้ไข ทั้งต้องให้ความสำคัญกับการประเมินผลการดำเนินกิจกรรม • นักศึกษา ควรมีส่วนร่วมกับกิจกรรมของมหาวิทยาลัย • นักศึกษา ควรมีส่วนร่วมในกระบวนการดำเนินงานประกันคุณภาพในระดับมหาวิทยาลัย • ควรบริหารจัดการด้วยข้อมูล จากผลการวิเคราะห์วิจัยตามข้อเท็จจริง • กิจกรรมที่ดี ควรมีประสิทธิภาพ ประหยัดเวลา และลดค่าใช้จ่าย.
เป็นผู้มีความรอบรู้ในวิชาการที่ศึกษาอย่างเพียงพอเป็นผู้มีความรอบรู้ในวิชาการที่ศึกษาอย่างเพียงพอ เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยภูมิรู้ ภูมิธรรม สามารถเปลี่ยนแปลง/ประยุกต์ใช้ความรู้ได้อย่าง เหมาะสม มีความคิดริเริ่มที่จะพัฒนา/ปรับปรุงตนเองอยู่เป็นนิจ คุณสมบัติบัณฑิตในอุดมคติ
ยึดมั่นในเอกลักษณ์ของความเป็นไทย และมุ่งประโยชน์ของสังคมและชาติเป็นหลัก มีมนุษย์สัมพันธ์และคุณธรรมในการดำรงชีวิต เป็นผู้ที่มีความคิดกว้างไกล สอดคล้องกับทิศทาง ของประชาคมโลก คุณสมบัติบัณฑิตในอุดมคติ
ความคาดหวังของมหาวิทยาลัยต่อนักศึกษาความคาดหวังของมหาวิทยาลัยต่อนักศึกษา • บัณฑิตมีคุณภาพทางวิชาการ • บัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรม • บัณฑิตมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และ ประเทศชาติ
สวัสดี ขอขอบคุณที่ให้โอกาส