250 likes | 364 Views
องค์กรและกระบวนการบริหารเศรษฐกิจไทย. โดย นางอภิรดี ตันตราภรณ์ อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ วันศุกร์ที่ 7 มกราคม 2548 ณ สถาบันพระปกเกล้า. กระทรวงพาณิชย์กับกระบวนการเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. การเจรจาการค้าเป็นนโยบายสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้านการค้าระหว่างประเทศ
E N D
องค์กรและกระบวนการบริหารเศรษฐกิจไทยองค์กรและกระบวนการบริหารเศรษฐกิจไทย โดย นางอภิรดี ตันตราภรณ์ อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ วันศุกร์ที่ 7 มกราคม 2548 ณ สถาบันพระปกเกล้า
กระทรวงพาณิชย์กับกระบวนการเจรจาการค้าระหว่างประเทศกระทรวงพาณิชย์กับกระบวนการเจรจาการค้าระหว่างประเทศ • การเจรจาการค้าเป็นนโยบายสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้านการค้าระหว่างประเทศ • การจัดทำเขตการค้าเสรี(FTA)เป็นยุทธศาสตร์เชิงรุกทางการค้าระหว่างประเทศ • การจัดทำเขตการค้าเสรี(FTA)มีเป้าหมายด้านเศรษฐกิจ
FTA คืออะไร • เขตการค้าเสรี (Free Trade Area-FTA)ประกอบด้วย • สองประเทศขึ้นไป • ตกลงจะขยายการค้าและการลงทุนระหว่างกัน • พยายามจะลดอุปสรรคทั้งด้านภาษีและไม่ใช่ภาษีให้เหลือน้อยที่สุด • ครอบคลุมทั้งสินค้า บริการและการลงทุน
ทำไมประเทศต่างๆ จึงสนใจทำ FTA กันมากขึ้น • การเจรจาการค้ารอบใหม่ของ WTO ชะงัก • “มังกรตื่นจากหลับไหล” • จีนเข้าเป็นสมาชิกของ WTO ทำให้ประเทศต่างๆ เกิดความหวั่นเกรงต่อศักยภาพด้านการแข่งขันของจีน • ขยายอำนาจทางเศรษฐกิจในอนาคต • ความได้เปรียบจาก • ตลาดบริโภคขนาดใหญ่ • แรงงานราคาถูก รองรับการผลิต • มีศักยภาพในการส่งออกสูง
ทำไมประเทศต่างๆ จึงสนใจทำ FTA กันมากขึ้น • การให้สิทธิประโยชน์ระหว่างคู่ภาคีส่งผลกระทบต่อประเทศนอกกลุ่ม เกิดแรงกระตุ้นทั้งระบบ • ใช้ FTA เป็นวิธีในการ • หาเพื่อน - สร้างพันธมิตรด้านเศรษฐกิจและการเมือง • หาตลาด - ขยายการค้าและการลงทุนกับภูมิภาคอื่นๆ ที่อยู่ห่างไกล • ประเทศที่มีพื้นที่ขนาดเล็กแต่มีระบบเศรษฐกิจที่เปิดเสรีเต็มที่อยู่แล้ว เช่น สิงคโปร์ และชิลี ได้ใช้ยุทธวิธีนี้อย่างแข็งขัน
แนวโน้มการทำเขตการค้าเสรีแนวโน้มการทำเขตการค้าเสรี โลกมีแนวโน้มทำเขตการค้าเสรีมากขึ้น 70% เป็น Bilateral FTAs Source : WTO
เป้าหมายด้านเศรษฐกิจของไทย Trade and Investment Hub in Asia Top 20 World Exporter Top 5 Investment Destination in Asia สร้างฐานเศรษฐกิจที่เข้มแข็งโดย Dual track policies
ทำไมไทยต้องทำ FTA • อยู่นิ่ง เท่ากับ ถดถอย • ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ เช่น สหรัฐ ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป ต่างทำFTA • การค้าระหว่างประเทศ มีผลมากต่อระบบเศรษฐกิจไทย • คิดเป็นร้อยละ 56.4 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (2546) • สถานการณ์แข่งขันการค้าโลกรุนแรงและรวดเร็วมากขึ้น • ไทยเสียสิทธิทางภาษีที่เคยได้ เช่น GSP ในขณะที่แอฟริกา และอเมริกาใต้ยังได้อยู่ ไทยเสียเปรียบ และเสียส่วนแบ่งตลาด • “รุก” ในส่วนที่ทำได้ ดีกว่ารอรับอย่างเดียว
การเลือกคู่เจรจา • การเลือกประเทศ เป็นตลาดดั้งเดิม/คู่ค้าหลักของไทย ประเทศที่เป็น Gateway เป็นตลาดใหม่ที่มีศักยภาพ มีกฎระเบียบทางการค้าระหว่างประเทศที่มั่นคง กลุ่มประเทศ ที่มีการรวมตัวอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อประหยัดเวลา ทรัพยากร และได้ผลจากการเจรจา
การเตรียมพร้อมในการเจรจา การเตรียมพร้อมในการเจรจา • ก่อนการเจรจา ได้มีการศึกษาวิเคราะห์ในภาพรวม ในการจัดทำ FTAไทยจะได้ประโยชน์หรือเสียประโยชน์ เตรียมพร้อมในบริหารการเจรจา อย่างเป็นระบบ
การเตรียมพร้อมในการเจรจาการเตรียมพร้อมในการเจรจา ประเด็นที่มีการเจรจา FTA และหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ - การเปิดตลาด : กระทรวงพาณิชย์ - แหล่งกำเนิดสินค้า : กระทรวงการคลัง - การลดเลิกอุปสรรคทางการค้า :- มาตรการสุขอนามัย : กระทรวงเกษตรฯ :- มาตรฐานสินค้า : กระทรวงอุตสาหกรรม - การค้าบริการ : กระทรวงพาณิชย์และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - การลงทุน : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) - ทรัพย์สินทางปัญญา : กรมทรัพย์สินทางปัญญา -E- Commerce : กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร(ICT)
การเตรียมพร้อมในการเจรจาการเตรียมพร้อมในการเจรจา • ระหว่างการเจรจา ได้มีการจ้างสถาบันศึกษาต่างๆศึกษาผลดี/ผลเสียเป็นรายสินค้า พร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะ และมาตรการรองรับผลที่จะเกิดขึ้น ได้มีการประชุมหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดทั้งภาครัฐและเอกชน เปิดรับฟังข้อคิดเห็น/เผยแพร่ข้อมูลจากภาคเอกชน ประชาชนทั่วไป และชี้แจงข้อมูลและความคืบหน้า FTA เช่นรัฐสภา กรรมาธิการฯมีwebsite: www.dtn.moc.go.th หรือ thaifta.com และ CallCenter โทร. 025077444 และ 025077555 จัดหน่วยปฏิบัติการพิเศษเคลื่อนที่เร็ว (Special Task Forces : STF) การเตรียมพร้อมปรับมาตรการของไทยเพื่อให้เหมาะสม
กระบวนการเจรจา FTA คณะกรรมการกำหนดยุทธศาสตร์และแนวทางการเจรจาจัดทำเขตการค้าเสรี (รมว.คลัง : นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์) คณะอนุกรรมการ ประเมินผลและ กำหนดแนวทาง การเจรจา เอฟ ที เอ ที่ปรึกษา รมว.คลัง สมพล เกียรติไพบูลย์ คณะเจรจา การุณ กิตติสถาพร Australia&NZ อภิรดี ตันตราภรณ์ Bahrain สมพล เกียรติไพบูลย์ China ปานปรีย์ พหิทธานุกร India & BIMSTEC พิศาล มาณวพัฒน์ Japan กันตธีร์ ศุภมงคล Peru นิตย์ พิบูลสงคราม US เกริกไกร จีระแพทย์ EFTA
ไทยได้อะไรจาก FTA • ยกระดับความสามารถการแข่งขันทางการผลิตของไทย • วัตถุดิบถูกลง • เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน • ภาษีต่ำกว่าคู่แข่งขัน • ความร่วมมือด้านเทคโนโลยีใหม่ๆ พัฒนาสินค้า • นักลงทุนมีความเชื่อมั่นมากขึ้น • การลงทุนจากต่างประเทศไหลเข้าสู่ไทย/มองเห็นตลาดที่กว้างขึ้น • สร้างพันธมิตรที่จะเกื้อกูลกันทางเศรษฐกิจ • เพิ่มอำนาจต่อรองของไทยในเวทีโลก
ไทยได้มีการจัดทำ FTA กับประเทศใดบ้าง คืบหน้าอย่างไร • คู่เจรจาของไทย 6 ประเทศ + 2 กลุ่มเศรษฐกิจ โดยอยู่ระหว่างการเจรจา • สหรัฐฯ • ญี่ปุ่น • จีน • บาห์เรน • อินเดีย • เปรู • BIMST-EC (บังคลาเทศ อินเดีย พม่า ศรีลังกา ไทย เนปาล และ ภูฎาน) • EFTA (สวิตเซอร์แลนด์ นอร์เวย์ ไอซ์แลนด์) • เจรจาเสร็จแล้ว 2 ประเทศ : ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์
เป้าหมายการเจรจา • ผลิตภัณฑ์เกษตร • แฟชั่น • ยานยนต์และชิ้นส่วน • อิเล็กทรอนิกส์และอุปโภคบริโภค • เฟอร์นิเจอร์ • สินค้า Electronic Commerce • NTBs • SPS • AD / CVD • RO • TBT • Environment • Others • ท่องเที่ยวและภัตตาคาร • สุขภาพ • ความงาม • บริการธุรกิจ • ขนส่ง / Logistics • ก่อสร้างและออกแบบ • การศึกษา • บริการ • อุตสาหกรรมเกษตร • อุตสาหกรรมแฟชั่น • อุตสาหกรรมยานยนต์ • ICT • บริการ • การลงทุน
ใครเป็นผู้ที่จะได้รับประโยชน์ใครเป็นผู้ที่จะได้รับประโยชน์ • ผู้ผลิต • นำเข้าวัตถุดิบราคาถูก • ต้นทุนการผลิตลดลง • เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน • ผู้ส่งออก • การขยายตลาดและเพิ่มศักยภาพในการส่งออกสินค้าและบริการ • ผู้บริโภค • ซื้อสินค้าได้ในราคาที่ถูกลง • เลือกซื้อสินค้าได้หลากหลายมากขึ้น
สินค้าสำคัญที่จะได้รับประโยชน์สินค้าสำคัญที่จะได้รับประโยชน์ • อัญมณีและเครื่องประดับ ได้รับประโยชน์ภายใต้กรอบ อินเดีย ออสเตรเลีย และจีน ในฐานะเป็นแหล่งวัตถุดิบ โดยมี สหรัฐฯ ญี่ปุ่น EFTA และออสเตรเลีย เป็นตลาดส่งออกสำคัญ
สินค้าสำคัญที่จะได้รับประโยชน์ • สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ได้รับประโยชน์ภายใต้กรอบความตกลงเขตการค้าเสรีระหว่างไทยกับออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ สหรัฐฯ และจีน โดยมี จีนเป็นแหล่งวัตถุดิบ
สินค้าสำคัญที่จะได้รับประโยชน์สินค้าสำคัญที่จะได้รับประโยชน์ • รองเท้าและเครื่องหนัง ได้รับประโยชน์ภายใต้กรอบ ออสเตรเลีย จีน สหรัฐฯ และญี่ปุ่น ในฐานะที่เป็นตลาดส่งออกสำคัญ โดยมี ออสเตรเลีย และสหรัฐฯ เป็นแหล่งวัตถุดิบ
สินค้าสำคัญที่จะได้รับประโยชน์สินค้าสำคัญที่จะได้รับประโยชน์ • ยานยนต์และชิ้นส่วน ได้รับประโยชน์ภายใต้กรอบ นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย สหรัฐฯ และอินเดีย ในขณะที่ จีน เป็นทั้งผู้นำเข้าและส่งออกที่สำคัญรวมทั้งเป็นคู่แข่งของไทย
สินค้าสำคัญที่จะได้รับประโยชน์สินค้าสำคัญที่จะได้รับประโยชน์ • ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องปรับอากาศ จะได้รับประโยชน์ภายใต้กรอบอินเดีย นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย ในขณะที่ จีนเป็นทั้งผู้นำเข้าและส่งออกที่สำคัญรวมทั้งเป็นคู่แข่งของไทย
ผลกระทบ • ใครเป็นผู้ที่จะเสียประโยชน์ • ผู้ผลิตในอุตสาหกรรมเกิดใหม่ที่ต้องการการปกป้องจากรัฐบาล • ผู้ผลิตที่มีประสิทธิภาพการผลิตต่ำ ไม่สามารถแข่งขันกับต่างประเทศได้ • ให้เวลาปรับตัว เช่น เรื่องหางนมกับออสเตรเลีย ใช้เวลา 20 ปี ในการลดภาษีเป็น 0 • ความช่วยเหลือเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ
ความคาดหวัง : ภาครัฐมีการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ FTA • เร่งดำเนินมาตรการด้านการเงินและการคลัง • ปรับปรุงระบบและลดขั้นตอนการให้บริการของภาครัฐ • มีระบบควบคุม • มีระบบเตือนภัย • เร่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน • มีมาตรการส่งเสริมการลงทุนของไทยในต่างประเทศ • ปฏิรูปการศึกษาและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • สนับสนุนการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ให้เข้มแข็ง • สร้างกลไกประสานความร่วมมือกับภาคเอกชน
ภาคเอกชนต้องมีการเตรียมพร้อมเพื่อรองรับ FTAอย่างไรบ้าง • พัฒนาบุคลากร • พัฒนาและขยายตลาดเชิงรุก • พัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างภาคเอกชนไทยกับภาคเอกชนของประเทศที่ร่วมทำเขตการค้าเสรี