1 / 41

ทฤษฎีความรู้ ( Theory Of Knowledge :TOK )

ทฤษฎีความรู้ ( Theory Of Knowledge :TOK ). วัตถุประสงค์ เพื่อปลูกฝังทักษะกระบวนการ การค้นคว้าแสวงหาความรู้เพิ่มเติม ต่อยอดความรู้ให้ลึกซึ้งในประเด็นความรู้ ( Knowledge issues ) ตามหลักสูตรแกนกลาง (ในรูปแบบบูรณาการใน 8 กลุ่มสาระ ) หรืออาจจะจัดเป็นสาระเพิ่มเติมเป็นบางสาระในระดับ ม . ปลาย.

gilon
Download Presentation

ทฤษฎีความรู้ ( Theory Of Knowledge :TOK )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทฤษฎีความรู้( Theory Of Knowledge :TOK )

  2. วัตถุประสงค์ เพื่อปลูกฝังทักษะกระบวนการ การค้นคว้าแสวงหาความรู้เพิ่มเติมต่อยอดความรู้ให้ลึกซึ้งในประเด็นความรู้ (Knowledge issues) ตามหลักสูตรแกนกลาง (ในรูปแบบบูรณาการใน 8 กลุ่มสาระ ) หรืออาจจะจัดเป็นสาระเพิ่มเติมเป็นบางสาระในระดับ ม.ปลาย ทฤษฎีความรู้( Theory Of Knowledge : TOK )

  3. ครูผู้สอน จะไม่สอนเนื้อหาเพิ่มเติม แต่จะสอนกระบวนการกระบวนการสืบค้นหาความรู้ เป็นผู้ชี้แนะวิธีแสวงหาความรู้ “ Way of knowing “ นักเรียนจะต้องหาค้นคว้าหาความรู้มาแสดงให้เห็นว่า รู้ได้เราอย่างไร “ How do we know”

  4. ความคาดหวังต่อนักเรียนความคาดหวังต่อนักเรียน • สามารถแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์ • ตั้งสมมติฐานและหาคำตอบเกี่ยวกับสิ่งที่รู้ • สามารถตั้งคำถาม/ให้คำอธิบาย แสดงความคิดเห็น หาทางออกในการแก้ปัญหาได้อย่างกระจ่างชัด • เชื่อมโยงความรู้/เปรียบเทียบวิธีการแสวงหา ความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาต่างๆและวิธีการรับรู้

  5. วิธีการรับรู้ และการจัดการเรียนรู้ 4 ทาง สร้างความรู้จากความรู้สึก(Sense Perception) สร้างความรู้จาการใช้ภาษา ( Language ) สร้างความรู้จากการให้เหตุผล ( Reason ) สร้างความรู้จากอารมณ์ ( Emotion )

  6. 1. การรับรู้ความรู้จากความรู้สึก(Sense Perception ) หมายถึงปฏิกิริยาทางกายของมนุษย์ที่เกิดจากการกระตุ้นต่างๆรอบตัว จากการสัมผัส ทั้งภายนอก ภายใน สื่อการสอนสำหรับครูเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจอยากเรียนรู้ - ใช้เพลง - ใช้รูปภาพ - ใช้สัญลักษณ์

  7. ใช้สัญลักษณ์

  8. การใช้ภาพบอกความรู้สึกการใช้ภาพบอกความรู้สึก

  9. 2. การรับรู้ความรู้จากภาษา ( Language ) เป็นรับรู้ความรู้จากการสื่อสาร ด้วยภาษา - ใช้สัญลักษณ์ ( Symbols) - สัญญาณ ( Sign ) - ภาษากาย ( Body language) - ภาษาพูด (language)

  10. การใช้ภาษามือเพื่อสื่อสาร

  11. การจัดการเรียนรู้ - ใช้สัญลักษณ์ ( Symbols )และป้าย สัญญาณเครื่องหมาย ( Signs ) เป็นสื่อ การเรียนการสอน และบอกผู้เรียนบอก ความหมายของสิ่งที่ผู้เรียนเห็นและรับรู้

  12. ใช้คำหรือประโยคเป็นสื่อในการเรียนการ สอน เช่นหาตัวอย่างคำที่เขียนเหมือนกันแต่ความหมายต่างเมื่ออยู่ในแต่ละประโยค เช่น ฉันได้ยินเสียงไก่ขันในตอนเช้าตรู่ ในวันสงกรานต์แม่เอาน้ำหอมใส่ขันน้ำไปสรง องค์พระ เขามีอารมณ์ขันได้ตลอดทั้งวันเลย

  13. -ใช้สัญลักษณ์ที่เกี่ยวข้องกับศาสนา ความเชื่อ และวัฒนธรรม ประเพณีที่เป็นที่รู้จักทั่วโลก เป็นสื่อการเรียนการสอน • ใช้ธงของประเทศต่างๆ เป็นสื่อการเรียนการสอน เช่นบอกความหมายของธงประเทศต่างๆ ค้นคว้าหาความหมายของสัญลักษณ์บนธงชาติของแต่ละประเทศ • ใช้สัญลักษณ์อื่นๆเป็นสื่อการเรียนการสอน เช่น การใช้ภาษากาย ( Body language )

  14. การใช้ธงชาติต่างๆเป็นสื่อการสอนการใช้ธงชาติต่างๆเป็นสื่อการสอน

  15. ใช้ภาพและสัญลักษณ์

  16. ใช้สัญลักษณ์

  17. 3. การรับรู้ความรู้จากอารมณ์ ( Emotion ) เป็นการเรียนรู้โดยการค้นคว้าหา ความรู้ทั้งจาก ที่เป็น อารมณ์ของตนเองและทั้งที่เป็นอารมณ์ ของผู้อื่น

  18. การรับรู้ความรู้จากอารมณ์ (Emotion ) การรับรู้ความรู้สึก ( Sense Perception ) การรับความรู้ทางภาษา ( Language ) การรับความรู้โดยเหตุผล ( Reason )

  19. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ใช้ภาพที่เกี่ยวกับภาษากาย(body Language) เป็นสื่อการสอน ท่าทาง (gesture) ที่เชื่อมโยง กับอารมณ์ เช่นใช้ภาพการ์ตูน และผู้เรียนบอก อารมณ์ของตัวละคร 2.ใช้สถานการณ์จำลอง (simulation ) เป็นสื่อ เช่น ให้นักเรียนแสดงท่าทางที่บอกอารมณ์ ให้เพื่อนๆ สังเกตอาการและแสดงความคิดเห็น เป็นต้น

  20. 3. ใช้ข้อความหรือเนื้อเรื่อง ( Text ) บทสนทนา ( dialogue ) และบท ประพันธ์ โคลง กลอน ฉันท์ กาพย์ กลอน เกี่ยวกับอารมณ์ ความเชื่อที่สะท้อนอารมณ์ ของผู้ประพันธ์ และตัวละครแล้วให้ผู้เรียน วิเคราะห์และตีความอารมณ์ของผู้เขียน หรือตัวละคร เช่น

  21. ตัวอย่างคำประพันธ์ เห็นแก้วแวววับที่จับจิต ไยไม่คิดอาจเอื้อมให้ถึงที่เมื่อไม่เอื้อมจะได้อย่างไรมี อันมณีฤาจะโลดไปถึงมือ อันของสูงแม้ปองต้องจิต ถ้าไม่คิดปีนป่ายจะได้ฤา มิใช่ของตลาดที่อาจซื้อ ฤาแย่งยื้อถือได้โดยไม่ยอม

  22. การรับความรู้จากการให้เหตุผล ( Reason) เป็นการใช้ข้อมูลรายละเอียด ( Information ) ในลักษณะโน้มน้าว( Induce ) สืบสาวเหตุผล ( deduce) สรุปความ ( Infer ) ลงความเห็นเป็นหลักการ ( generalize) ระบุลักษณะเฉพาะ ( pacify ) ยืนยันลักษณะความเหมือน ( recognize similarities) การตัดสิน ( judge ) และโต้แย้ง สนับสนุน และคัดค้าน

  23. บทบาทของครูผู้สอน - กำหนดประเด็นความรู้ (knowledge issues )หรือหัวข้อ (Topics ) สำหรับให้ผู้เรียนควรค้นคว้าเพิ่มเติม - รวบรวมหัวข้อทั้งหมด ส่งโรงเรียน(งานวิชาการ) รวบรวมและจัดทำเป็นเล่ม

  24. ตัวอย่างหัวข้อ( Topics ) - วรรณคดีสามารถบอกความจริงได้ดีกว่าศาสตร์ ด้านศิลปะ หรือสาขาวิชาอื่นๆหรือไม่ • ความรู้ของมนุษย์เกิดขึ้นได้อย่างไร • อะไรคือความเหมือนและความแตกต่างระหว่าง • คำอธิบายเชิงประวัติศาสตร์ กับคำอธิบาย • เชิงวิทยาศาสตร์

  25. - เครื่องจักรสามารรับรู้ได้เช่นเดียวกับมนุษย์หรือไม่ • ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาที่ยั่งยืน • ของประเทศไทย • ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับคำกล่าวที่ว่า “ คณิตศาสตร์เป็นพื้นฐานสำหรับการเรียนรู้วิชาอื่นๆ ”

  26. เปรียบเทียบบทบาทของการให้เหตุผล (reason ) และการจินตนาการ ( imagination ) ในสาระ การเรียนรู้ 2 สาระเป็นอย่างน้อย • เมื่อนักคณิตศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ และ • นักวิทยาศาสตร์พูดว่าพวกเขาได้ อธิบาย บางสิ่ง บางอย่างไปแล้ว การพูดเช่นนี้ เขาเหล่านั้น ใช้คำว่า“ อธิบาย”ในความหมายเดียวกันหรือไม่

  27. นักเรียนทำอะไร • เลือกหัวข้อเรื่อง เพื่อค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม • ศึกษาเกณฑ์การให้คะแนน • ปรึกษาครูที่ปรึกษา • รวบรวมความคิด ค้นคว้าหาความรู้ • แสดงความคิดเห็นของตนเอง • ลำดับความคิดของตนเอง - เขียนความเรียงแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับหัวข้อเรื่องที่ เลือก

  28. การวัดและประเมินผล • มี 2 ลักษณะ ได้แก่ • การสอบข้อเขียน • การสอบปากเปล่า (Oral)

  29. สรุปบทบาทภาระงาน สถานศึกษา จัดทำเอกสาร รวบรวมประเด็นประเด็นความรู้ มอบหมายครูผู้สอน แต่งตั้งครูที่ปรึกษา

  30. ครูผู้สอน - สอนกระบวนการวิธีหาความรู้ ศาสตร์ สาขาของความรู้ - การเขียนรายงานการค้นคว้า - ดูแลช่วยเหลือผู้เรียนในการค้นคว้า และการเขียนรายงาน - ประเมินผลเรียน ทั้งข้อเขียนและปาก เปล่า

  31. หน้าที่ครูที่ปรึกษา - ช่วยเหลือ อำนวยความสะดวกให้แก่ผู้เรียน - กำกับ ติดตาม การทำงานของผู้เรียน - ตรวจทาน และรับรองผลงานของผู้เรียน

  32. ผู้เรียน - เลือกประเด็นความรู้ 1 เรื่อง สำหรับค้นคว้า - ค้นคว้าแสวงหาความรู้ เกี่ยวกับหัวข้อที่เลือก - เขียนรายงานการค้นคว้าความยาวประมาณ 1,200 - 1,600 คำ ( ม.ปลาย ) - ส่งรายงาน - สอบปากเปล่า - นำเสนอผลงาน

  33. เป้าหมายผู้เรียนได้ • Learn to know • Learn to be • Learn to do • Learn to live together

More Related