250 likes | 445 Views
ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น ( ASEAN-Japan Comprehensive Economic Partnership Agreement : AJCEP) นายวินิจฉัย แจ่มแจ้ง รักษาการที่ปรึกษาการพาณิชย์. ความเป็นมาของความตกลง. 7 ต.ค. 43 ในการประชุม รมต.ศก.อาเซียน-ญี่ปุ่น ครั้งที่ 7 ณ ประเทศไทย. มติให้ศึกษาการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ.
E N D
ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น(ASEAN-Japan Comprehensive Economic Partnership Agreement : AJCEP) นายวินิจฉัย แจ่มแจ้ง รักษาการที่ปรึกษาการพาณิชย์
ความเป็นมาของความตกลงความเป็นมาของความตกลง 7 ต.ค. 43 ในการประชุม รมต.ศก.อาเซียน-ญี่ปุ่น ครั้งที่ 7 ณ ประเทศไทย มติให้ศึกษาการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ผู้นำลงนามกรอบการเจรจา 8 ต.ค.46 ณ ประเทศอินโดนีเซีย เจรจาจัดทำร่างความตกลง สรุปผล พ.ย. 50 เริ่มเจรจาอย่างเป็นทางการ เม.ย. 48 มติ ครม. 25 มี.ค. 51 ให้ความเห็นชอบลงนาม ลงนาม เม.ย. 51
ความร่วมมือ สินค้า บริการ ลงทุน ขอบเขตความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น จะมีการหารือเพื่อเปิดตลาดการค้าบริการและการลงทุนต่อไป
ลดภาษีใน17 ปี ลดภาษีใน10 ปี ยกเลิกภาษี 3% ใน 10 ปี ยกเลิกภาษี 90% ใน 10 ปี ยกเลิกภาษี 90% ใน 15 ปี ยกเลิกภาษี 85% ใน 18 ปี ยกเลิกภาษีทันที 90% Exclusion Exclusion Exclusion Exclusion ลดภาษีใน 10 ปี Modality
กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า (1) การพิจารณาว่าสินค้ามีถิ่นกำเนิดภายใต้ความตกลง AJCEP สามารถแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ใหญ่ๆ คือ • สินค้าที่ไม่ได้ใช้วัตถุดิบจากภายนอกประเทศสมาชิก AJCEP 1) สินค้าที่ได้มาทั้งหมดหรือผลิตทั้งหมดในประเทศผู้ส่งออก (Wholly produced or wholly - obtained)เช่น สัตว์มีชีวิตที่เกิดและโตในประเทศ พืชและส่วนของพืชที่ปลูกและเก็บเกี่ยวในประเทศ 2) สินค้าที่ผ่านการผลิตทั้งหมดในประเทศผู้ส่งออกโดยใช้วัตถุดิบที่ได้ถิ่นกำเนิดจากประเทศสมาชิก AJCEP
กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า (2) 2. สินค้าที่ใช้วัตถุดิบจากภายนอกประเทศสมาชิก AJCEP • กฎทั่วไป (General rule) : RVC 40 หรือ CTH • สินค้าที่มีถิ่นกำเนิดตามกฎเกณฑ์การได้ถิ่นกำเนิดเฉพาะรายสินค้า (Product Specific Rules : PSR)มีสัดส่วนประมาณร้อยละ 40 ของรายการสินค้าทั้งหมด • เกณฑ์ขั้นต่ำ (De Minimis)ใช้กับสินค้าที่ไม่ผ่านเกณฑ์การเปลี่ยนพิกัดแต่มีมูลค่าวัตถุดิบที่ไม่ได้ถิ่นกำเนิดไม่เกิน 10 เปอร์เซ็นต์ เช่น ของปรุงแต่งจากพืชผัก ผลไม้ อาหารสำหรับเลี้ยงสัตว์ เป็นต้น
มาตรการปกป้อง • อนุญาตให้ใช้มาตรการปกป้องเพื่อการป้องกันหรือคุ้มครองความเสียหายอย่างร้ายแรงต่ออุตสาหกรรมภายในประเทศ และเพื่ออำนวยต่อการปรับตัวของอุตสาหกรรมภายใน หากความเสียหายนั้นเป็นผลจากข้อผูกพันภายใต้ความตกลงนี้
มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชมาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช • การใช้มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ของWTO • จัดตั้งคณะอนุกรรมการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลที่เกี่ยวข้อง อำนวยความสะดวกความร่วมมือในด้านนี้
มาตรฐาน กฎระเบียบทางเทคนิค และกระบวนการประเมินความสอดคล้อง • การจัดทำมาตรฐาน กฎระเบียบทางเทคนิคและกระบวนการประเมินความสอดคล้องให้เป็นไปตามข้อกำหนดความตกลงของ WTO • จัดตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อประสานงานความร่วมมือและดำเนินงานตามแผนงานที่จะจัดทำขึ้นเพื่อการอำนวยความสะดวกการยอมรับผลการประเมินความสอดคล้องและความทัดเทียมกันของกฎระเบียบด้านเทคนิค
สิทธิภายใต้อนุสัญญาบาเซลสิทธิภายใต้อนุสัญญาบาเซล • ไม่มีข้อผูกพันใดๆ ภายใต้การค้าสินค้าที่จะห้ามไม่ให้ประเทศที่เป็นภาคีอนุสัญญาบาเซลว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายข้ามแดนของขยะและของเสียอันตรายและความตกลงระหว่างประเทศอื่นๆที่เกี่ยวข้อง บังคับใช้มาตรการที่เกี่ยวข้องกับขยะอันตรายหรือสารอันตรายบนพื้นฐานกฎหมายและกฎระเบียบภายในประเทศโดยสอดคล้องกับความตกลงระหว่างประเทศดังกล่าว
การค้าบริการและการลงทุนการค้าบริการและการลงทุน • ยังไม่มีข้อผูกพันการเปิดเสรี • ให้จัดตั้งคณะอนุกรรมการการค้าบริการและคณะอนุกรรมการการลงทุนภายใน 1 ปีนับจากวันที่ความตกลงมีผลใช้บังคับ เพื่อหารือและเจรจาข้อบทการค้าบริการและการลงทุนต่อไป
ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ • วิสาหกิจขนาดย่อมและขนาดกลาง • การท่องเที่ยวและการต้อนรับ • การขนส่งและโลจิสติกส์ • การเกษตร ประมงและป่าไม้ • สิ่งแวดล้อม • นโยบายการแข่งขัน • สาขาอื่นๆตามแต่จะตกลงกัน • กระบวนการที่เกี่ยวกับการค้า • สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ • ทรัพย์สินทางปัญญา • พลังงาน • ข้อมูลและเทคโนโลยีการสื่อสาร • การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ผลของความตกลง • ไทยไม่ได้เปิดตลาดภายใต้ AJCEPมากไปกว่า JTEPAแต่สิ่งที่ไทยได้เพิ่มเติมจากความตกลงนี้คือ การลด/ยกเลิกภาษีของญี่ปุ่น เร็วขึ้นจาก JTEPA 71รายการ รวมมูลค่าการส่งออก 2.13 พันล้านบาท กฎถิ่นกำเนิดสินค้าที่ยืดหยุ่นขึ้น เพิ่มความน่าดึงดูดในการลงทุนของไทย ความร่วมมือ 14 สาขา
ประโยชน์เพิ่มเติมเมื่อเทียบกับ JTEPA: การลดภาษีสินค้า หน่วย:ล้านเหรียญสหรัฐฯ
ประโยชน์ที่ได้เพิ่มเติมเมื่อเปรียบเทียบกับ JTEPAกฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า • การสะสมแหล่งกำเนิดสินค้าภายในภูมิภาค (อาเซียน+ญี่ปุ่นรวม 11 ประเทศ) • สินค้าบางกลุ่มได้ถิ่นกำเนิดสินค้าง่ายกว่าที่ระบุไว้ในJTEPA เช่น ผ้าไม่ทอ สุรา • สินค้าเกษตรแปรรูปได้รับยกเว้นจากกฎเกณฑ์ปกติที่ใช้อยู่โดยยอมให้สินค้าดังกล่าวได้ถิ่นกำเนิดสินค้าถึงแม้จะไม่ได้ผ่านการเปลี่ยนพิกัด หากสินค้าดังกล่าวใช้วัตถุดิบที่ไม่ได้ถิ่นกำเนิดสินค้าไม่เกิน 10 % ของราคา F.O.B. ซึ่งภายใต้ JTEPA กำหนดไว้ร้อยละ 7 • ตอนที่ 16 (อาหารปรุงแต่งจากเนื้อสัตว์ ปลา หรือสัตว์น้ำ) • ตอนที่ 18 (โกโก้และของปรุงแต่งจากโกโก้) • ตอนที่ 19 (ของปรุงแต่งจากธัญพืช แป้ง สตาร์ช ) • ตอนที่ 20 (ของปรุงแต่งจากพืชผักและผลไม้) • ตอนที่ 21 (ของปรุงแต่งเบ็ดเตล็ดที่บริโภคได้) • ตอนที่ 22 (เครื่องดื่ม สุรา และน้ำส้มสายชู) • ตอนที่ 23 (กากและเศษที่เหลือจากอุตสาหกรรมผลิตอาหาร อาหารสัตว์)
ตัวอย่างกฎเฉพาะรายสินค้าที่แตกต่างกันระหว่าง JTEPA และ AJCEP
ตัวอย่างการลดภาษีภายใต้ JTEPA ที่ดีกว่า AJCEP
สนใจข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ สำนักเอเชีย โทร 02 5077254www.dtn.go.th www.thaifta.com