360 likes | 665 Views
รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการติดตั้งหน่วยควบคุมไอน้ำมันเชื้อเพลิง และเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซล (ขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ). บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง. ความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของโครงการ.
E N D
รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการติดตั้งหน่วยควบคุมไอน้ำมันเชื้อเพลิง และเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซล (ขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ) บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง
ความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของโครงการความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของโครงการ รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย 2 โครงการ • การติดตั้งระบบควบคุมไอน้ำมันเชื้อเพลิง • เพื่อให้เป็นไปตามประกาศกระทรวง เรื่อง ควบคุมไอน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ.2550 • เพื่อลดการระบายสารอินทรีย์ระเหยง่ายออกสู่บรรยากาศ • การเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซล • เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายของกรมธุรกิจพลังงาน ในการส่งเสริมการใช้ผลผลิตทางการเกษตรภายในประเทศ และลดการนำเข้าน้ำมันดิบ ทั้งนี้ การขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ ไม่ทำให้กำลังการกลั่นเพิ่มขึ้น
การจัดผังพื้นที่ของโรงกลั่นน้ำมันระยองการจัดผังพื้นที่ของโรงกลั่นน้ำมันระยอง การติดตั้งระบบควบคุมไอน้ำมันเชื้อเพลิง (VRU) และการเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซล ดำเนินการบริเวณสถานีขนถ่ายน้ำมันทางรถบรรทุก โรงกลั่นน้ำมันระยอง มีพื้นที่รวม 756 ไร่ แบ่งออกเป็น อาคารสำนักงาน พื้นที่ส่วนการผลิต ระบบบำบัดน้ำเสียและกากตะกอน ส่วนผลิตกระแสไฟฟ้า พื้นที่ขนถ่ายทางรถยนต์และระบบสาธารณูปโภคอื่นๆ ขนาด 256 ไร่ (พื้นที่ชายฝั่งเดิม) พื้นที่คลังน้ำมันหลัก ขนาด 500 ไร่ (พื้นที่ถมทะเล)
ที่ตั้งโครงการฯ ภายโรงกลั่นน้ำมันระยอง ที่ตั้งโครงการ
ที่ตั้งโครงการฯ ภายโรงกลั่นน้ำมันระยอง ถังเก็บกักเมทิลเอสเตอร์ ท่อรวบรวมไอไฮโดรคาร์บอนจากถังเก็บกักไปยัง VRU VRU ท่อรวบรวมไอไฮโดรคาร์บอนจาก Loading Arm บริเวณสถานีสูบถ่ายน้ำมันทางรถ ไปยัง VRU
การติดตั้งระบบควบคุมไอน้ำมันเชื้อเพลิง (VRU) • แผนการดำเนินโครงการ • ก่อสร้างประมาณเดือนธันวาคม พ.ศ. 2551 • ดำเนินการผลิตได้ประมาณเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2552 • ท่อและอุปกรณ์ที่ติดตั้งเพิ่มเติม • ติดตั้ง Activated carbon 2 vessel • ท่อรวบรวมไอไฮโดรคาร์บอนจากรถบรรทุกน้ำมันไปยัง VRU • ท่อรวบรวมไอไฮโดรคาร์บอนจากถังเก็บกักผลิตภัณฑ์ไปยัง VRU • ติดตั้ง Blower สำหรับรวบรวมไอไฮโดรคาร์บอน ไปยังสถานีสูบถ่ายน้ำมันทางรถ • ติดตั้ง Total Hydrocarbon Analyzer (THC) ที่ปลายปล่อง VRU
ถังเก็บน้ำมันเบนซิน ถังเก็บน้ำมันเบนซิน การติดตั้งระบบควบคุมไอน้ำมันเชื้อเพลิง (VRU) ขั้นตอนการทำงานของ VRU ติดตั้ง THC Online Analyzer หน่วยควบคุมไอน้ำมันเบนซิน VRU removal Efficiency 95%
การเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซลการเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซล • แผนการดำเนินโครงการ • ก่อสร้างประมาณเดือนธันวาคม พ.ศ.2551 • ดำเนินการผลิตได้ประมาณเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2552 • วัตถุดิบ • น้ำมันดีเซลซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ของโรงกลั่นฯ • เมทิลเอสเตอร์ (B100) เป็นกรดไขมันประเภทหนึ่งที่อยู่ในน้ำมันปาล์ม รับจากผู้ผลิตภายในประเทศ เช่น บริษัท พลังงานบริสุทธิ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท โอลีโอเคมี จำกัด • ผลิตภัณฑ์ • ไบโอดีเซล (ผลิตภัณฑ์ใหม่) ประมาณ 1,500 ตันต่อวัน
c c B100 B100 Diesel การเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซล ขั้นตอนการผลิตไบโอดีเซล Loading
การเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซล (ต่อ) • ก่อสร้างถังเก็บกักเมทิลเอสเตอร์ของกรดไขมัน (B100 Tank) จำนวน 2 ถัง ขนาดถังละ 1,500 ลูกบาศก์เมตร • ติดตั้งท่อลำเลียง • เพื่อลำเลียง B100 จากรถบรรทุก ไปยังถังเก็บกัก • เพื่อลำเลียง B100 จากถังเก็บกัก เพื่อไปผสมลงในน้ำมันดีเซล • ติดตั้งปั๊มสูบถ่าย • สำหรับสูบถ่าย B100 จากรถบรรทุกไปยังถังเก็บกัก • สำหรับผสม B100 จากถังเก็บกัก ไปยังสถานีสูบถ่ายน้ำมันทางรถ
การเพิ่มประเภทผลิตไบโอดีเซล (ต่อ) ติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันและระงับอัคคีภัยที่ติดตั้งเพิ่มเติม • Wheel Dry Chemical Powder • Mobile Foam Extinguisher • วาล์วนิรภัย (Safety Valve) บนหลังคาของถังเก็บกัก
ชนิด ปริมาณ และการจัดการกากของเสีย ที่เกิดขึ้นจากโครงการฯ
การจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยการจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ระบบป้องกันอัคคีภัยภายในโรงกลั่นฯ • มี Fire Water Pump 3 เครื่อง ได้แก่ Electric Motor 1 เครื่อง และ Diesel Engine 2 เครื่อง • ระบบ Sprinkler ด้วยน้ำและโฟม • ระบบกล้องวงจรปิด • ระบบเตือนไฟไหม้ • รถดับเพลิง • เครื่องดับเพลิงอัตโนมัติ โดยใช้ CO2 • Fixed Gas Detector • ระบบน้ำสำรองดับเพลิง 16,000 m3 • ระบบโฟมสำรอง 19,000 ลิตร
การตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อม
คุณภาพอากาศในบรรยากาศคุณภาพอากาศในบรรยากาศ ตำแหน่งตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศ 4 วัดมาบตาพุด โรงเรียนบ้านหนองแฟบ ชุมชนบ้านอ่าวประดู่ 3 5 1 ทิศเหนือของ โรงกลั่นน้ำมันระยอง ทิศเหนือท่าเทียบเรือ 2
ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศ ระหว่างปี พ.ศ.2548-2551 หมายเหตุ : 1. ค่ามาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2. SO2-1 hr มีค่าเกินมาตรฐานกำหนด ที่บริเวณทิศเหนือของโรงกลั่นฯ, ทิศเหนือของท่าเทียบเรือ, วัดมาบตาพุด และ ชุมชนอ่าวประดู่ ตรวจวัดวันที่ 19-21 ธันวาคม 2549 ในช่วงเวลากลางคืน โดยพบในช่วงเวลาสั้น ซึ่งในขณะนี้อยู่ระหว่างการตรวจสอบหาสาเหตุ 3. * ตรวจวัดบริเวณทิศเหนือของโรงกลั่นฯ และทิศเหนือของท่าเทียบเรือ
คุณภาพอากาศจากปล่องระบายอากาศคุณภาพอากาศจากปล่องระบายอากาศ ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศจากปล่องระบายอากาศ ระหว่างปี พ.ศ.2548-2551 หมายเหตุ : 1. 1/ ค่ามาตรฐานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม พ.ศ.2548 2. 2/ค่ามาตรฐานตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545) 3. * ปัจจุบันได้หยุดเดินเครื่อง Incinerator
ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศจากปล่องระบายอากาศของส่วนผลิตไฟฟ้าผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศจากปล่องระบายอากาศของส่วนผลิตไฟฟ้า ระหว่างปี พ.ศ.2548-2551 หมายเหตุ : 1. 1/ ค่ามาตรฐานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2536) 2. 2/ค่ามาตรฐานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม พ.ศ.2548
ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศจากปล่องระบายอากาศของถังกำมะถัน และหน่วย VRU ระหว่างปี พ.ศ.2548-2551 หมายเหตุ : 1. 1/ ค่ามาตรฐานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม พ.ศ.2548 2. 2/ค่ามาตรฐานตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545)
ระดับเสียง • จุดตรวจวัด • โรงเรียนบ้านหนองแฟบ, วัดมาบตาพุด, ชุมชนอ่าวประดู่ • พารามิเตอร์ • Leq24, Ldn • ผลการตรวจวัด ระหว่างปี พ.ศ.2548-2551 หมายเหตุ : ค่ามาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 15 (พ.ศ.2540)
การสำรวจความคิดเห็นของชุมชนการสำรวจความคิดเห็นของชุมชน • โดยแบบสอบถาม จำนวน 316 ตัวอย่าง • ระหว่างวันที่ 22-23 และ 29 กันยายน พ.ศ.2550 • ชุมชนที่ทำการสำรวจ 6 ชุมชน • ระยะ 0-3 กิโลเมตร • ซอยร่วมพัฒนา • หนองน้ำเย็น • ตากวน-อ่าวประดู่ • คลองน้ำหู • ระยะ > 3-5 กิโลเมตร • กรอกยายชา • เกาะกก-หนองแตงเม
การสำรวจความคิดเห็นของชุมชน (ต่อ) • สรุปความคิดเห็นของหัวหน้าครัวเรือนหรือผู้แทนครัวเรือน • เห็นด้วย 63.61 % • ไม่เห็นด้วย 33.54 % • ไม่แสดงความคิดเห็น 2.85 % • การสำรวจความคิดเห็นของผู้แทนหน่วยงานราชการ/รัฐวิสาหกิจ • โดยการสนทนา/สัมภาษณ์/พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น • จำนวน 10 ท่าน จาก 7 หน่วยงาน • ระหว่างวันที่ 11-12 กันยายน พ.ศ.2551 • เห็นด้วยกับโครงการทุกท่าน
การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 1. คุณภาพอากาศ 2. เสียง
1. คุณภาพอากาศ • ระยะก่อสร้าง • เกิดผลกระทบจากฝุ่นละออง เนื่องจากกิจกรรม การก่อสร้าง การปรับพื้นที่ การขนส่งคนงานและเครื่องจักร เกิดขึ้นเฉพาะในระยะก่อสร้างและระยะเวลาสั้นๆ ดังนั้น ทางโครงการฯ จึงมีมาตรการในการลดผลกระทบ เพื่อให้เกิดผลกระทบน้อยที่สุด
1. คุณภาพอากาศ(ต่อ) • ระยะดำเนินการ : การติดตั้งระบบควบคุมไอน้ำมันเชื้อเพลิง (VRU) • ประเมินผลกระทบจากการระบาย VOC และ Benzene
1. คุณภาพอากาศ (ต่อ) แนวทางการประเมินผลกระทบโดยแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ • แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ : AERMOD • ข้อมูลสำหรับใช้กับแบบจำลอง : • ข้อมูลอุตุนิยมวิทยา ปี พ.ศ.2550 • สถานีตรวจอากาศสัตหีบ ของกรมอุตุนิยมวิทยา • สถานีตรวจอากาศ ของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย • สถานีตรวจอากาศกรุงเทพ
1. คุณภาพอากาศ (ต่อ) • ข้อมูลผู้รับผลกระทบ • กำหนดตามระยะทางจากแหล่งกำเนิด 2,000 กริด ขนาดพื้นที่ 18x25 km2 (450 km2) • ข้อมูลแหล่งกำเนิดสารมลพิษทางอากาศ • จาก VRU ที่มีอยู่เดิมบริเวณลานถังของโรงกลั่น น้ำมันระยอง • จากโครงการฯ ทั้งก่อนและหลังปรับลดอัตราการระบาย
การติดตั้งระบบควบคุมไอน้ำมันเชื้อเพลิง (VRU) • ข้อมูลแหล่งกำเนิดสารมลพิษทางอากาศ • จากแหล่งกำเนิดที่มีอยู่เดิม : โรงกลั่นน้ำมันระยอง 1 ปล่อง • จากโครงการ ทั้งก่อนและหลังติดตั้ง VRU • จากแหล่งกำเนิดเดิมที่มีอยู่ในพื้นที่ รวมกับแหล่งกำเนิด ของโครงการทั้งก่อนและหลังติดตั้งระบบฯ • สารมลพิษที่ใช้ในการประเมินผลกระทบ • VOC และ Benzene
ผลการประเมินค่าความเข้มข้นสูงสุดของสารอินทรีย์ระเหยง่าย และเบนซีน ในบรรยากาศ โดยแบบจำลองทางคณิตศาสตร์
2. เสียง แนวทางการประเมินผลกระทบ • แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ : DecayFormular Model • ระดับเสียงสูงสุดที่กำหนด • ระยะก่อสร้าง : 101 dB(A) จากการเจาะเสาเข็ม ที่ระยะห่างจากเครื่องจักร ประมาณ 1 เมตร • ระยะดำเนินการ : 85 dB(A) ที่ระยะห่างจาก เครื่องจักร 1 เมตร
การติดตั้ง VRU และการเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซล ระยะก่อสร้าง
การติดตั้ง VRU และการเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซล ระยะดำเนินการ
การติดตั้ง VRU และการเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซล ระยะดำเนินการ
มาตรการด้านสิ่งแวดล้อมที่กำหนดเพิ่มเติมมาตรการด้านสิ่งแวดล้อมที่กำหนดเพิ่มเติม • ควบคุมการระบายสารมลพิษทางอากาศจาก VRU Stack • ติดตั้งเครื่องตรวจวัดอุณหภูมิแบบต่อเนื่อง • ติดตั้ง Total Hydrocarbon Analyser ที่ปล่อง VRU • จัดให้มี Preventive Maintenance ระบบ VRU • ดูแลและตรวจสอบการทำงานของระบบ VRU อย่างสม่ำเสมอ • ตรวจวัดค่าความเข้มข้นของเบนซีนบริเวณสถานีขนถ่ายน้ำมันทางรถบรรทุก ปีละ 2 ครั้ง • จัดทำ Noise Contour Map ในพื้นที่เสียงดัง ทุก 5 ปี