640 likes | 801 Views
สำนักงาตรวจสอบภายใน โครงการอบรม “ตรวจสอบพัสดุอย่างสร้างสรรค์” การบรรยายหัวข้อ “เทคนิคการตรวจสอบพัสดุ และข้อตรวจพบในการปฏิบัติงานพัสดุ”. พิศิษฐ์ ลีลาวชิโรภาส โทร. ๐๘ ๕๑๒๓ ๓๑๔๙. 1. เพราะพ่อบอกว่า......... .....เงินแผ่นดิน นั้นคือ เงินของประชาชนทั้งชาติ. 1. งบประมาณรายจ่ายของแผ่นดิน
E N D
สำนักงาตรวจสอบภายในโครงการอบรม“ตรวจสอบพัสดุอย่างสร้างสรรค์”การบรรยายหัวข้อ“เทคนิคการตรวจสอบพัสดุและข้อตรวจพบในการปฏิบัติงานพัสดุ”สำนักงาตรวจสอบภายในโครงการอบรม“ตรวจสอบพัสดุอย่างสร้างสรรค์”การบรรยายหัวข้อ“เทคนิคการตรวจสอบพัสดุและข้อตรวจพบในการปฏิบัติงานพัสดุ” พิศิษฐ์ ลีลาวชิโรภาสโทร. ๐๘ ๕๑๒๓ ๓๑๔๙ 1
เพราะพ่อบอกว่า......... .....เงินแผ่นดิน นั้นคือ เงินของประชาชนทั้งชาติ...... 1
งบประมาณรายจ่ายของแผ่นดินงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดิน ให้ทำเป็นพระราชบัญญัติ ถ้า พรบ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีออกไม่ทัน ให้ใช้กฎหมายงบประมาณรายจ่ายปีก่อนไปพลาง รธน. ๕๐ ม. ๑๖๖ การควบคุมการเงินการคลังการเงิน การคลัง และงบประมาณ 2
เว้นแต่ กรณีจำเป็นเร่งด่วน แต่ต้องเป็นไปหลักเกณฑ์และ วิธีการที่กฎหมายบัญญัติ รธน. ๕๐ ม. ๑๖๙ การควบคุมการเงินการคลัง การจ่ายเงินแผ่นดินจะกระทำได้เฉพาะ ที่ได้อนุญาตไว้ในกฎหมาย 3
พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา ๒๖ ข้าราชการหรือลูกจ้าง ผู้ใด ของส่วนราชการ กระทำการ ก่อหนี้ผูกพัน หรือ จ่ายเงิน หรือโดยรู้อยู่แล้วยินยอมอนุญาตให้กระทำการดังกล่าวนั้น โดย ฝ่าฝืน พ.ร.บ. นี้ หรือระเบียบ หรือข้อบังคับที่ออก โดย พ.ร.บ.นี้ นอกจากความรับผิดทางอาญา จะต้องชดใช้จำนวนเงินที่ส่วนราชการจ่ายไป / ต้องผูกพันจะต้องจ่าย บุคคลภายนอกผู้ได้รับประโยชน์จากการกระทำนั้นจะต้องร่วมรับผิดชอบใช้จำนวนเงินนั้น ตลอดจนค่าสินไหมใด ๆ ให้แก่ส่วนราชการ 4
ให้มีกฎหมายการเงินการคลังของรัฐ เพื่อกำหนดกรอบวินัยการเงิน การคลัง ซึ่งรวมถึงหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการวางแผนการเงินระยะ ปานกลาง การจัดหารายได้ การกำหนดแนวทาง ในการจัดทำงบประมาณของการบริหารการเงินและทรัพย์สิน การบัญชี กองทุนสาธารณะ การก่อหนี้หรือดำเนิน การผูกพันทรัพย์สิน หรือภาระทางการเงินของรัฐ การกำหนดหลักเกณฑ์วงเงินสำรองจ่ายเพื่อเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น และการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ตามหลักการรักษาเสถียรภาพ พัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน และความเป็นธรรมในสังคม(เป็นกฎหมายแม่บทเพื่อกำกับวินัยการคลังทุกภาคส่วนแบบบูรณาการ) การเงิน การคลัง และงบประมาณ รธน. ๕๐ ม. ๑๖๗ 5
กรอบกฎหมายวินัยการเงินการคลัง* การกำหนดการวางแผนการเงินระยะปานกลาง* การจัดหารายได้* แนวทางในการจัดทำงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดิน * การบริหารการเงินและทรัพย์สิน* การบัญชี* กองทุนสาธารณะ * การก่อหนี้หรือผูกพันทรัพย์สินหรือภาระ ทางการเงินของรัฐ* การกำหนดวงเงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น 6
กรอบกฎหมายวินัยการเงินการคลังกรอบกฎหมายวินัยการเงินการคลัง การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ หน่วยงานของรัฐ • ส่วนราชการ * เทศบาล * กทม. • องค์การมหาชน * อบต. * เมืองพัทยา • องค์กรตามรัฐธรรมนูญ * อบจ. * อปท. อื่น • หน่วยงานอื่น9 อปท. 9
การใช้จ่ายเงินแผ่นดิน จึงต้อง......... • เป็นไปตามกฎหมาย / ระเบียบ ฯ/ มติ ครม. • ได้ผลตามวัตถุประสงค์ ตามเป้าหมาย ประหยัด เกิดประโยชน์สูงสุด คุ้มค่าเงิน • เป็นไปโดยรัดกุม / เหมาะสม • เป็นไปโดยบริสุทธิ์ / สุจริตและเป็นธรรม ..........
แนวทางการตรวจสอบเงินแผ่นดิน • ด้านการบัญชีและการเงิน • ด้านการจัดเก็บรายได้ • ด้านการบริหารงานพัสดุ • ด้านการดำเนินงาน • ด้านสืบสวนข้อเท็จจริง
ด้านการบัญชี/งบการเงิน ด้านการบัญชี/งบการเงิน การจัดทำบัญชี / งบการเงิน - การลงบัญชี / รายงานการเงิน - วิเคราะห์งบการเงิน/ ข้อสังเกต ถูกต้องครบถ้วน / หลักบัญชี-ระเบียบ น่าเชื่อถือ ตามที่ควร
ด้านการการเงินทั่วไป การเบิกจ่าย/หลักฐานทางการเงิน - ฎีกา / ใบสำคัญ - เอกสารประกอบการเบิกจ่าย ถูกต้องครบถ้วน - แท้จริง ตามระเบียบ - ตามความจริง
ด้านการจัดเก็บรายได้ แหล่งที่มาของรายได้ - การจัดเก็บ - การรับ เก็บรักษา นำส่งเงิน ถูกต้องครบถ้วน / ตามกฎหมาย ตามหลักเกณฑ์ / ตามเป้าการจัดเก็บ
ด้านการดำเนินงาน ผลการใช้จ่ายเงิน - ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล - ประหยัด ประโยชน์ คุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ / เป้าหมาย ตามความจำเป็น เหมาะสม / รัดกุม
ด้านการบริหารงานพัสดุ ด้านการบริหารงานพัสดุ - การจัดทำเอง - การจ้างที่ปรึกษา - การจัดซื้อ * - การจัดจ้าง * - การจ้างออกแบบและควบคุมงาน - การแลกเปลี่ยน - การเช่า - การควบคุมดูแล - การจำหน่าย - การดำเนินการอื่นเกี่ยวกับการพัสดุ
กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง ENVIROMENT วัฒนธรรม/นโยบาย/ ระเบียบ INPUT PROCESS OUTPOT OUTCOME คน งปม. แผน เวลา พัสดุ ประโยชน์ที่ได้รับ วิธีการจัดหา FEEDBACK การตอบสนอง
* กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง ที่สำคัญ เช่น - งบประมาณ / วงเงิน / ราคากลาง - พัสดุที่ต้องการ(คุณลักษณะเฉพาะ รูปแบบฯ ) - ขั้นตอนและวิธีการจัดหา * - การตรวจรับ / การควบคุม ตามกฎหมาย ระเบียบ - ตามสัญญา แบบรูป ตามหลักเกณฑ์การจัดหาที่ดี
หลักเกณฑ์การจัดหาที่ดีหลักเกณฑ์การจัดหาที่ดี • ได้พัสดุที่ดี มีคุณภาพ สมราคา ทันเวลาที่ต้องการ เกิดประโยชน์สูงสุด คุ้มค่าของเงิน(Value for Money) • มีการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะ รูปแบบและรายการ ละเอียดที่ชัดเจนและเป็นกลาง สอดคล้องและตรงกับ ความต้องการใช้งาน เป็นไปตามนโยบาย • กระบวนการโปร่งใส เปิดเผย สามารถตรวจสอบได้ และเป็นธรรม มีการแข่งอย่างแท้จริง ชอบด้วยกฎหมาย
พระราชบัญญัติว่าด้วย ความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๒ (ส่วนที่เกี่ยวกับผู้เสนอราคา/เป็นธุระ) • มาตรา 4 ผู้ใดร่วมเสนอราคา โดยเลี่ยงการแข่งราคา / กีดกันการเสนอราคา /โดยเอาเปรียบหน่วยงาน • มาตรา 5 ผู้ใดให้/ ขอให้/ จะให้ ทรัพย์สิน เพื่อสมยอมกัน เรียก/ รับ/ จะรับ ทรัพย์สิน เพื่อสมยอมกัน • มาตรา 6 ผู้ใดขืนใจ โดยใช้กำลัง/ ขู่เข็ญ ให้สมยอม • มาตรา 7 ผู้ใดหลอกลวง ให้ไม่มีโอกาสแข่งขัน/หลงผิด • มาตรา 8ผู้ใด เสนอราคา ต่ำ/สูงกว่าความจริง เพื่อกีดกัน • มาตรา 9 หุ้นส่วน /กรรมการผู้จัดการ ผู้บิหาร กระทำผิด
พระราชบัญญัติว่าด้วย ความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๒ (ส่วนที่เกี่ยวกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ) • มาตรา 10 จนท. รู้ / ควรจะรู้ การเสนอราคาที่ผิดกฎหมาย ละเว้นไม่ดำเนินการยกเลิกการเสนอราคานั้น • มาตรา 11 จนท./ผู้รับมอบหมาย โดยทุจริตทำการออกแบบ กำหนดราคา/ เงื่อนไข / ผลตอบแทน ไม่เป็นธรรม • มาตรา 12 จนท. กระทำการใดๆ เอื้ออำนวยผู้สมยอมราคา • มาตรา 13 นักการเมือง/ กรรมการ / อนุฯ ในหน่วยงานรัฐ กระทำผิด พ.ร.บ. สมยอมฯ
การไม่ปฏิบัติตามระเบียบฯ พัสดุ • ต้องมีเหตุผลจำเป็น • ต้องขออนุมัติยกเว้น • หรือผ่อนผัน ก่อน!
การดำเนินการจัดหา • ต้องมีการ วางแผน • และ จัดหาตามแผน • หลังทราบยอดเงินที่จะใช้ • ให้พร้อมทำสัญญาทันที • เมื่อได้รับอนุมัติทางการเงิน
การจัดทำเอง • ต้องมีผู้ควบคุมงานรับผิดชอบ • ต้องมีคณะกรรมการตรวจการ ปฏิบัติงาน
การจัดหาทุกขั้นตอน • ต้องมีการบันทึกหลักฐาน และเหตุผลการพิจารณาสั่งการ • ระมัดระวังในการตรวจสอบคุณสมบัติผู้เสนอราคาหรืองาน
การอุดหนุนสินค้าที่ผลิตหรือกิจการของไทยการอุดหนุนสินค้าที่ผลิตหรือกิจการของไทย การกำหนดรายละเอียดหรือ คุณสมบัติเฉพาะ ต้องไม่กีดกันการแข่งขัน
การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง ต้องห้าม • เพื่อเปลี่ยนแปลงวิธีการจัดหา • เพื่อเปลี่ยนแปลงอำนาจอนุมัติ ข้อพิจารณา • งบประมาณ • ประเภทพัสดุ • ช่วงเวลาในการดำเนินการ
รายงานขออนุมัติจัดหา ต้องมีรายละเอียดอย่างน้อยรายงานขออนุมัติจัดหา ต้องมีรายละเอียดอย่างน้อย คือ • รายละเอียดของพัสดุ • เหตุผลและความจำเป็นที่ต้องจัดหา • ราคามาตรฐาน/ราคากลาง/ราคาที่เคยจัดหา • วงเงินที่จะจัดหา ระบุงบประมาณ • กำหนดเวลาที่ต้องการใช้งานพัสดุ • วิธีการจัดหาและเหตุที่ต้องจัดหาโดยวิธีนั้น • ข้อเสนออื่น
การจัดซื้อที่ดินและสิ่งปลูกสร้างการจัดซื้อที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง • วงเงินที่จะซื้อ ระบุแหล่งเงิน เหตุผล/ความจำเป็น รายละเอียด • ต้องมีราคาประเมินของทางราชการในท้องที่นั้น • และราคาซื้อขายใกล้เคียงบริเวณนั้นหลังสุด 3 ราย • วิธีจะซื้อ/เหตุผล • ซื้อจากเจ้าของที่ดินโดยตรง(วิธีพิเศษ) ยกเว้น ต่างประเทศ
การตกลงราคา • เจ้าหน้าที่พัสดุตกลงกับผู้ขาย/ผู้รับจ้างโดยตรง • กรณียกเว้น ตกลงซื้อจ้างไปก่อน • ต้องมีเหตุจำเป็นเร่งด่วน ไม่อาจคาดหมาย • หรือไม่อาจดำเนินการตามปกติ • ต้องดำเนินการโดยเจ้าหน้าที่พัสดุ และ • รีบรายงานขอความเห็นชอบต่อ หัวหน้าส่วนราชการ
การสอบราคา/การประกวดราคาการสอบราคา/การประกวดราคา • ต้องทำตามมาตรการ ระเบียบ มติครม. และ • กม.ที่เกี่ยวข้อง (พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับ การเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.2542) • หนังสือที่ นร. 0205/ว193 ลว.13ธ.ค.42 เรื่อง แนวปฏิบัติในการกำกับดูแลเผยแพร่ข่าวสาร การประกาศประกวดราคาฯ
การจัดหาโดยวิธีพิเศษ • ต้องเป็นกรณีที่มีความจำเป็นเร่งด่วนที่ไม่อาจปฏิบัติตามแผน (ข้อ 57 (2) ) • ต้องจ้างเพิ่ม (Repeat Order) จำเป็น/เร่งด่วน/ประโยชน์ ของราชการ (ข้อ 24 (5) )เจรจากับผู้รับจ้างรายเดิมซึ่งยังไม่ สิ้นสุดระยะเวลาการส่งมอบ (ข้อ 58(2) ) • จ้างโดยวิธีอื่นแล้วไม่ได้ผลดี ให้สืบราคาจากผู้มีอาชีพ โดยตรงและผู้เสนอราคาในการสอบราคา/ประกวด ราคาซึ่งถูกยกเลิกไป (ข้อ 58 (3) )
การจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์การจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ • จัดซื้อตามชื่อยาสามัญ ในบัญชียาหลักแห่งชาติ กำหนดไม่น้อยกว่า 60% วงเงินงบประมาณ • เว้นแต่แต่ส่วนราชการสังกัด สธ.ไม่น้อยกว่า 80% • ยา และ เวชภัณฑ์ ที่มิใช่ยา ซื้อจากองค์การเภสัชฯ • ยาที่องค์การเภสัชฯไม่ผลิตแต่มีจำหน่าย ซื้อจากใครก็ได้ • ซื้อตาม กม./ มติครม.
การตรวจรับพัสดุ • ต้องตรวจรับ ณ ที่ทำการของผู้ใช้พัสดุ • หรือสถานที่ซึ่งกำหนดไว้ในสัญญา/ ข้อตกลง • ปกติต้องตรวจรับวันที่ส่งพัสดุ และ ดำเนินการ โดยเร็วที่สุด • ต้องตรวจให้ถูกต้องครบถ้วน
การควบคุมงาน • ต้องตรวจและคุมงาน ณ สถานที่ที่สัญญากำหนด • หรือที่ให้ทำงานจ้างนั้น ทุกวัน และ • ต้องดูแลให้เป็นไปตามรูปแบบรายการละเอียดและข้อกำหนด • ต้องบันทึกสภาพการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง และเหตุการณ์ เป็นรายวัน • รายงานผลการปฏิบัติงาน ต่อ คณะกรรมการตรวจการจ้าง ทุกสัปดาห์
การตรวจการจ้าง (ข้อ 72) • ตรวจรายงานผู้ควบคุมงาน • ตรวจสอบกับแบบรูปรายการละเอียด และข้อกำหนด • ตรวจทุกสัปดาห์ • หากมีข้อสงสัย/ เห็นว่าตามหลักช่างสร้างไม่ได้ สั่งเปลี่ยนแปลง/ตัดทอนงานตามสมควร • ตรวจผลงานที่ผู้รับจ้างส่งมอบปกติภายใน 3 วันทำการ และตรวจรับให้เสร็จสิ้นโดยเร็วที่สุด
ตัวอย่าง การพัสดุผิดระเบียบ/กฎหมาย เช่น • แบ่งแยกวงเงินจัดซื้อ / จัดจ้าง • จัดซื้อที่ดิน / สิ่งก่อสร้างโดยมิชอบ • กำหนดราคากลาง / คุณสมบัติโดยมิชอบ • การเผยแพร่ / จัดส่งประกาศโดยมิชอบ • พิจารณาผลการเสนอราคาโดยมิชอบ • เสนอความเห็นโดยมิชอบ • ทำสัญญาโดยมิชอบ
ตัวอย่าง การพัสดุผิดระเบียบ/กฎหมาย เช่น • ควบคุมงาน / ตรวจการจ้างโดยมิชอบ • ตรวจรับโดยมิชอบ • เบิกจ่ายพัสดุ / จัดทำทะเบียนโดยมิชอบ • ละเว้นการตรวจสอบพัสดุประจำปี • ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับยานพาหนะโดยมิชอบ(ความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ)
การตกลงราคา (ระเบียบฯ ข้อ 39) • เจ้าหน้าที่พัสดุตกลงกับผู้ขาย/ผู้รับจ้างโดยตรง • กรณียกเว้น ตกลงซื้อจ้างไปก่อน (ข้อ39 วรรคสอง) • ต้องมีเหตุจำเป็นเร่งด่วน ไม่อาจคาดหมาย • หรือไม่อาจดำเนินการตามปกติ • ต้องดำเนินการโดยเจ้าหน้าที่พัสดุ และ • รีบรายงานขอความเห็นชอบต่อ หัวหน้าส่วนราชการ
ด้านตรวจสอบสืบสวนข้อเท็จจริง ด้านตรวจสอบสืบสวนข้อเท็จจริง พฤติการณ์ ไม่สุจริต / ทุจริต - บกพร่อง ไม่เป็นไประเบียบ - เสียหาย - กระทำมิชอบ / เสียหายร้ายแรง ทุจริต ผิดระเบียบ / ผิดกฎหมาย
การตรวจสอบสืบสวนINVESTIGATION AUDIT การแสวงหาข้อเท็จจริงเพื่อให้ทราบรายละเอียดพฤติการณ์ และรวบรวมพยานหลักฐาน เพื่อพิสูจน์การกระทำ ว่า...... .บกพร่อง / ไม่สุจริต / ทุจริตหรือไม่ ?(เทคนิคการสอบบัญชี + เทคนิคการสอบสวน)
มาตรการอื่น ๆ • การวางมาตรฐานการควบคุมภายใน • การปฏิบัติมาตรฐานการตรวจสอบภายใน • การจัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง • การติดตามวินัยทางการเงินการคลังและงบประมาณ - ข้อกำหนดวินัยการเงินการคลังและงบประมาณ - กำหนดโทษปรับทางปกครอง
ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วย ......... - การกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔ - วินัยทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ. ๒๕๔๔ ประกาศคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน -เรื่องการจัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. ๒๕๔๖ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย - การเร่งรัด ติตามเกี่ยวกับกรณีเงินขาดบัญชีหรือเจ้าหน้าที่ ของรัฐทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๖ 43 1
ประกาศ คตง.เรื่อง การจัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. ๒๕๔๖ วัตถุประสงค์ของระเบียบฯ เพื่อให้การบริหารงบประมาณและการตรวจสอบ เป็นไปด้วยความเหมาะสม เกิดประสิทธิภาพสูงสุด เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
การบังคับใช้ตามประกาศ คตง. หน่วยรับตรวจ • กรม / ส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรม • ส่วนราชการจังหวัด / ส่วนราชการที่ตั้งอยู่ภูมิภาค • กทม. อบจ. เทศบาล อบต. เมืองพัทยา • รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอิสระ องค์การมหาชน • หน่วยงานในกำกับ หน่วยงานอื่น ของรัฐ
หลักเกณฑ์จัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง หน่วยรับตรวจ ที่จะจัดซื้อจัดจ้าง • ครุภัณฑ์ ราคาเกิน 100,000 บาท • ที่ดินสิ่งก่อสร้าง ราคาเกิน 2,000,000 บาท
หลักเกณฑ์จัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง หน่วยรับตรวจ (ส่วนภูมิภาค/ท้องถิ่น) • ครุภัณฑ์ ราคาเกิน 100,000 บาท • ที่ดินสิ่งก่อสร้าง ราคาเกิน 1,000,000 บาท
หลักเกณฑ์จัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง • จัดทำแผนตามแบบ ภายใน 1 ตุลาคม ของ ทุกปี • ส่งสำเนาให้ สตง. ภายใน 31ตุลาคม ของ ทุกปี
หลักเกณฑ์จัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง เว้นแต่จัดซื้อจัดจ้างโดยเงินกู้ • จัดทำแผนปฏิบัติการ และ • ส่งสำเนาให้ สตง. ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับอนุมัติเงินกู้
หลักเกณฑ์จัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง กรณีแก้ไข เปลี่ยนแปลง เพิ่มเติม ตัดทอน รายละเอียด หรือ ระยะเวลา แผนปฏิบัติการ จัดส่งสำเนาให้ สตง. ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่อนุมัติ