450 likes | 563 Views
การใช้บริการสุขภาพของชาวญี่ปุ่นที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย. โชติรส ลอองบัว 18 มกราคม 2551. ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข. หัวข้อในการนำเสนอ. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา คำถามการวิจัย วัตถุประสงค์ของการศึกษา ระเบียบวิธีวิจัย ผลการศึกษา
E N D
การใช้บริการสุขภาพของชาวญี่ปุ่นที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย โชติรส ลอองบัว 18 มกราคม 2551 ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข 1
หัวข้อในการนำเสนอ ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา คำถามการวิจัย วัตถุประสงค์ของการศึกษา ระเบียบวิธีวิจัย ผลการศึกษา ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 2
การไหลเข้ามาใช้บริการสุขภาพของชาวต่างชาติในรพ.เอกชนเพิ่มขึ้นการไหลเข้ามาใช้บริการสุขภาพของชาวต่างชาติในรพ.เอกชนเพิ่มขึ้น รายได้ 19,000 ล้านบาท ที่มา: กรมส่งเสริมการส่งออก,กระทรวงพาณิชย์ : 2546 3
ความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบของประเทศไทยความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบของประเทศไทย 4
ข้อตกลงการค้าบริการสุขภาพพัฒนาเร็วกว่าการพัฒนาข้อมูลข้อตกลงการค้าบริการสุขภาพพัฒนาเร็วกว่าการพัฒนาข้อมูล ไม่สามารถระบุตัวเลขการค้าบริการสุขภาพที่ชัดเจนได้ เนื่องจากระบบข้อมูลที่ยังไม่แยกการค้าบริการสุขภาพออกจากการค้าบริการด้านอื่นๆในการเจรจาแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ต่อกัน ( Trade-off) อาจเกิดข้อเสียเปรียบในการดำเนินการเจรจาความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจระหว่างไทยกับญี่ปุ่น (Japan-Thailand Economic Partnership Agreement) หรือ JTEPA การคาดการณ์ ทำได้อย่างจำกัด อุปสงค์ของผู้ป่วยชาวต่างชาติต่อการใช้บริการสุขภาพ และอุปทานของทรัพยากรด้านสาธารณสุข มีความสมดุลกันหรือไม่ 5
คำถามการวิจัย • ชาวญี่ปุ่นที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย มีลักษณะทางประชากร ลักษณะการเดินทาง การเจ็บป่วยระหว่างพำนักในประเทศไทยเป็นอย่างไร • การใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาลของชาวญี่ปุ่นที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยเป็นอย่างไร • ประเทศใดบ้างที่ชาวญี่ปุ่นต้องการไปใช้บริการสุขภาพและมีเหตุผลในการตัดสินใจเลือกเป็นอย่างไร 6
วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อศึกษาวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อศึกษา • คุณลักษณะทางประชากร ลักษณะการเดินทาง การเจ็บป่วยระหว่างพำนักในประเทศไทย และการใช้บริการสุขภาพในประเทศไทย • ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาลในประเทศไทย • ประเทศที่ชาวญี่ปุ่นต้องการไปใช้บริการสุขภาพและเหตุผลในการตัดสินใจเลือก 7
ระเบียบวิธีการวิจัย • ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง • ชาวญี่ปุ่นเดินทางเข้ามาช่วงเดือนมีนาคม - เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2548 • ขนาดกลุ่มตัวอย่างจำนวนทั้งหมด 2,520คน • วิธีการเก็บข้อมูลและเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา • เก็บข้อมูล ณ บริเวณที่พักผู้โดยสารขาออกของสนามบินดอนเมือง • เป็นแบบสอบถามที่สร้างขึ้นตามวัตถุประสงค์ของการศึกษา • ขอบเขตและข้อจำกัดของการศึกษา • เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ • การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มแบบบังเอิญ • สถานที่เก็บข้อมูล ไม่กระจายทุกพื้นที่ 8
ผลการศึกษา ส่วนที่ 1 ลักษณะทั่วไปของชาวญี่ปุ่นที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย ส่วนที่ 2 การใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาลในประเทศไทย ส่วนที่ 3 การเลือกประเทศที่ต้องการไปใช้บริการสุขภาพของชาว ญี่ปุ่นที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย 9
ส่วนที่ 1 ลักษณะทั่วไปของชาวญี่ปุ่นที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย ลักษณะทางด้านประชากร ร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 2,520 คน) 10
ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามเพศและสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 2,520 คน) 11
ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามอายุและสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 2,520 คน) 12
ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามอาชีพและสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 2,520 คน) 13
ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามรายได้และสถานที่ทำงาน/ศึกษาร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามรายได้และสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 2,520 คน) 14
ลักษณะการเดินทาง ส่วนที่ 1 ลักษณะทั่วไปของชาวญี่ปุ่นที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย(ต่อ) 15
ร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามจำนวนครั้งที่เดินทางมาประเทศไทยในช่วง 1 ปี ที่ผ่านมาและสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 2,520 คน) 16
ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามระยะเวลาพำนักอยู่ในประเทศไทยครั้งนี้และสถานที่ทำงาน/ศึกษาร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามระยะเวลาพำนักอยู่ในประเทศไทยครั้งนี้และสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 2,520 คน) 17
ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามจุดมุ่งหมายที่เดินทางมาประเทศไทยครั้งนี้และสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 2,520 คน) 18
การเจ็บป่วยระหว่างพำนักอยู่ในประเทศไทยการเจ็บป่วยระหว่างพำนักอยู่ในประเทศไทย ส่วนที่ 1 ลักษณะทั่วไปของชาวญี่ปุ่นที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย (ต่อ) 19
ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามอาการป่วยระหว่างพำนักอยู่ในประเทศไทยในช่วง 1 ปีที่ผ่านมาและสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 2,520 คน) 20
ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามพฤติกรรมการแสวงหาบริการสุขภาพในช่วง 1ปีที่ผ่านมาและสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 908คน) 21
ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามการใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาลในประเทศไทยในช่วง 1 ปีที่ผ่านมาและสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 2,520คน) 22
แบบแผนการใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาลในแผนกผู้ป่วยนอกของประเทศไทยแบบแผนการใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาลในแผนกผู้ป่วยนอกของประเทศไทย • ส่วนที่ 2 การใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาลในประเทศไทย 23
ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามจำนวนทั้งหมดที่ใช้บริการและสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 424คน) 24
ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามประเภทของสถานพยาบาลและสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 424คน) 25
ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามลักษณะของบริการที่ใช้บริการและสถานที่ทำงาน/ศึกษาร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามลักษณะของบริการที่ใช้บริการและสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 424คน) 26
ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามค่ารักษาพยาบาลและสถานที่ทำงาน/ศึกษาร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามค่ารักษาพยาบาลและสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 424คน) 27
ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามวิธีการจ่ายค่ารักษาพยาบาลและสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 424คน) 28
ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามปัญหาในการใช้บริการสุขภาพและสถานที่ทำงาน/ศึกษาร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามปัญหาในการใช้บริการสุขภาพและสถานที่ทำงาน/ศึกษา 1 2 3 (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 2,520คน) 29
ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามข้อแนะนำและสถานที่ทำงาน/ศึกษาร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามข้อแนะนำและสถานที่ทำงาน/ศึกษา 1 3 2 (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 2,520คน) 30
ปัจจัยที่มีอิทธิพลกับการใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาลปัจจัยที่มีอิทธิพลกับการใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาล ส่วนที่ 2 การใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาลในประเทศไทย (ต่อ) 31
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาลปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาล (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 424คน) 32 หมายเหตุ * p = < 0.10,* * p = < 0.05,* ** p = < 0.001
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาล (ต่อ) (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 424คน) 33 หมายเหตุ * p = < 0.10,* * p = < 0.05,* ** p = < 0.001
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาล (ต่อ) (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 424คน) 34 หมายเหตุ * p = < 0.10,* * p = < 0.05,* ** p = < 0.001
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาล (ต่อ) (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 424คน) 35 หมายเหตุ * p = < 0.10,* * p = < 0.05,* ** p = < 0.001
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาล (ต่อ) (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 424คน) 36 หมายเหตุ * p = < 0.10,* * p = < 0.05,* ** p = < 0.001
ส่วนที่ 3 การเลือกประเทศที่ต้องการไปใช้บริการสุขภาพของชาวญี่ปุ่นที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย 37
ประเทศที่ต้องการไปใช้บริการสุขภาพประเทศที่ต้องการไปใช้บริการสุขภาพ (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 2,520คน) 38
ความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบระหว่างประเทศไทยกับประเทศสิงคโปร์ความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบระหว่างประเทศไทยกับประเทศสิงคโปร์ 39 (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 2,520คน)
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ส่วนของภาครัฐ • 1. ด้านฐานข้อมูลความรู้ • บันทึกข้อมูลการค้าบริการสุขภาพแยกออกจากการค้าบริการด้านอื่นๆ • เก็บข้อมูลการใช้บริการสุขภาพของชาวต่างชาติเป็นฐานข้อมูลในการศึกษาอย่างต่อเนื่อง • ประเมินผลกระทบของการส่งเสริมให้ชาวต่างชาติเข้ามาใช้บริการสุขภาพในประเทศไทย และนำเสนอข้อมูลผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อสาธารณชนอย่างทั่วถึงครบถ้วนและไม่บิดเบือนข้อมูล 40
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ส่วนของภาครัฐ(ต่อ) • 2. ด้านบุคลากรด้านสุขภาพ • เพิ่มการผลิตบุคลากรในสาขาที่มีความต้องการในการใช้บริการสูง • พัฒนาบุคลากรเพิ่มขีดความสามารถ และทักษะทางด้านภาษาญี่ปุ่น • 3. พัฒนาด้านกฎหมายเช่น มาตรการเข้าเมืองของชาวต่างชาติ รวมทั้งความชัดเจนในการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล • เพิ่มมาตรการด้านความปลอดภัยและสิ่งอำนวยความสะดวก • ภาครัฐควรกำหนดมาตรฐานและควบคุมคุณภาพของการให้บริการสร้างความเชื่อมั่นในการเข้ามาใช้บริการ • 5. ติดตามสื่อมวลชนในต่างประเทศที่เผยแพร่เรื่องเกี่ยวกับประเทศไทย 41
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย กลยุทธ์ของภาคเอกชน • การเจาะตลาด (Market Penetration Strategy) • ปรับปรุงภาพลักษณ์และความเชื่อมั่นของผู้ใช้บริการ มาตรฐานการให้บริการ เช่น การรับรองมาตรฐานโรงพยาบาลสากล (Joint Commission International หรือ JCI) • ส่งเสริมการขาย สร้างแพ็คเกจสุขภาพจากบริการสุขภาพด้านต่างๆ เช่น ทำแพ็คเกจสปาร่วมกับการให้บริการทันตกรรม • 2. การพัฒนาตลาด (Market development) • ปรับปรุงบริการที่มีอยู่แล้ว เช่น กลุ่มนักท่องเที่ยวสูงอายุ กับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม • ขยายสู่ตลาดใหม่ สร้างเครือข่ายกับธุรกิจด้านสุขภาพได้แก่ ธุรกิจประกันภัย • พัฒนาทรัพยากรบุคคล 42
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย • สร้างความแตกต่างทางการแข่งขัน • ความแตกต่างทางคุณลักษณะของสินค้า(Product attributes) เช่น เน้นสาขาโรคหรือบริการสุขภาพประเภทที่ยังไม่มีการให้บริการในญี่ปุ่น หรือหากมีก็ต้องใช้ค่าใช้จ่ายสูงมาก • ความแตกต่างทางการให้บริการ (Customer service) เช่น สร้างความสะดวกในการเบิกค่ารักษา โดยอาจตั้งสำนักงานเบิกค่ารักษาในประเทศไทย • ความแตกต่างด้านชื่อเสียง ทำให้เกิด Brand recognition และภาพลักษณ์ที่ดีต่อตราสินค้ากำหนดราคาให้เหมาะสม 43
ธรรมนูญสุขภาพของไทย มาตรา 71 บริการสาธารณสุข จุดมุ่งหมายสำคัญ..น่าจะเป็นการให้คนในประเทศมีสุขภาพดีเป็นเป้าหมายหลัก ไม่เป็นไปเพื่อแสวงกำไรเชิงธุรกิจ 44
ขอบคุณค่ะ終了 45