1.08k likes | 1.52k Views
บทบาทของศูนย์ช่วยเหลือสังคม OSCC โครงการฝึกอบรมหลักสูตรสิทธิมนุษยชนสำหรับเจ้าหน้าที่รัฐ รุ่นที่ 2. โดย นางสาวแรมรุ้ง สุบรรณเสนีย์ ผู้อำนวยการ ศูนย์ช่วยเหลือสังคม OSCC. ที่มาของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม. การขับเคลื่อนงานการพัฒนาเด็กและสตรี 25 มกราคม 2556. สศช. IT. บูรณา การ.
E N D
บทบาทของศูนย์ช่วยเหลือสังคม OSCCโครงการฝึกอบรมหลักสูตรสิทธิมนุษยชนสำหรับเจ้าหน้าที่รัฐ รุ่นที่ 2 โดย นางสาวแรมรุ้ง สุบรรณเสนีย์ ผู้อำนวยการศูนย์ช่วยเหลือสังคม OSCC
ที่มาของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม การขับเคลื่อนงานการพัฒนาเด็กและสตรี 25 มกราคม 2556 สศช. IT บูรณาการ ศูนย์เบ็ดเสร็จ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม 4 ประเด็นปัญหา (1.ตั้งครรภ์ไม่พร้อม(คุณแม่วัยใส) 2.การค้ามนุษย์ 3.แรงงานเด็ก 4.ความรุนแรงฯ) 8 มีนาคม 2556 แถลงข่าวงานวันสตรีสากล 9 เมษายน 2556 เปิดตัว พม.
สถานการณ์ความรุนแรงของปัญหาสถานการณ์ความรุนแรงของปัญหา ตั้งครรภ์ไม่พร้อม : - วัยรุ่นไทยอายุต่ำกว่า 20 ปี คลอดลูกเฉลี่ยวันละ 370 คน - มีเพศสัมพันธ์เร็วขึ้น เฉลี่ยอายุ 15-16 ปี ค้ามนุษย์ : - อยู่ระดับ Tier2 watch list 4 ปี ติดต่อกัน (2553-2556) แรงงานเด็ก : - ถูกระบุว่า สินค้าที่ผลิตจากประเทศไทยมีการใช้แรงงานเด็ก : สินค้ากุ้ง, ปลา, อ้อย, เครื่องนุ่งห่ม, สื่อลามก ความรุนแรง :- ไทยอยู่ลำดับ 36 ที่มีการกระทำความรุนแรงทางกายต่อสามี/ภรรยา ของตนเอง
การประสานความร่วมมือจัดตั้งหน่วยรับแจ้งเหตุ/ เบาะแส (Front Line 1) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงสาธารณสุข 21,844 แห่ง กระทรวงแรงงาน สำนักงานตำรวจแห่งชาติ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงยุติธรรม กระทรวงศึกษาธิการ กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา 8
Front Line 1 หมายถึง ช่องทางที่ผู้ประสบปัญหาหรือผู้พบเหตุ/เบาะแส สามารถแจ้งเหตุ/เบาะแส 4 ปัญหาหลักของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม ได้โดยสะดวก รวดเร็ว โดยสามารถแจ้งได้ 4 ช่องทาง คือ - แจ้งด้วยตนเองที่หน่วยรับแจ้งเหตุ มากกว่า 20,000 แห่งทั่วประเทศ - สายด่วน 1300 ตลอด 24 ชั่วโมง - เว็บไซต์ www.osccthailand.go.th - Mobile Application
Front Line 2 หมายถึง หน่วยงานที่มีบทบาทและภารกิจหลักในการให้ความช่วยเหลือในแต่ละประเด็นปัญหา ภายใต้สังกัดกระทรวง/ หน่วยงานระดับประเทศ ที่รับผิดชอบ 4 ประเด็นปัญหาหลัก 1.กระทรวงสาธารณสุข : การตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น 2.สำนักงานตำรวจแห่งชาติ : การค้ามนุษย์ 3.กระทรวงแรงงาน : การใช้แรงงานเด็ก 4.กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ : การใช้ความรุนแรงต่อเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และคนพิการ
1. ตั้งครรภ์ไม่พร้อม กระทรวงสาธารณสุข 2. ค้ามนุษย์ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ กระทรวงแรงงาน 3. แรงงานเด็ก กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 4. การกระทำความรุนแรงต่อเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และคนพิการ
Front line 2 ตั้งครรภ์ไม่พร้อม กระทรวงสาธารณสุข • โรงพยาบาลชุมชน • โรงพยาบาลทั่วไป • โรงพยาบาลศูนย์ • โรงพยาบาลในสังกัดกรมการแพทย์ • กรมอนามัย และกรมควบคุมโรค
Front line 2 ค้ามนุษย์ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ • สถานีตำรวจนครบาล • สถานีตำรวจภูธรตำบล/อำเภอ/จังหวัด • กองกำกับการ 1-6 กองบังคับการ • ปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับ • การค้ามนุษย์
Front line 2 แรงงานเด็ก กระทรวงแรงงาน • ศูนย์ปฏิบัติการช่วยเหลือแรงงานหญิงและเด็ก • ณ สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด • สำนักคุ้มครองแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครอง • แรงงาน • กลุ่มงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน พื้นที่ 1-10 • (กทม.)
Front line 2 การกระทำความรุนแรงต่อเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และคนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ • สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ • จังหวัด • ศูนย์ปฏิบัติการเพื่อป้องกันการกระทำความรุนแรง • ในครอบครัว (กทม.)
หน่วยให้บริการ หมายถึง หน่วยงานที่มีภารกิจหน้าที่ให้บริการความช่วยเหลือแก่ผู้ประสบปัญหา แต่มิได้เป็นหน่วยงานเจ้าภาพหลัก (Front line 2) ในระบบ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
บันทึกข้อมูลการติดต่อเข้าสู่ระบบฐานข้อมูลกลางบันทึกข้อมูลการติดต่อเข้าสู่ระบบฐานข้อมูลกลาง • ส่งต่อปัญหาไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบตามพื้นที่ได้อัตโนมัติ • มีระบบแจ้งเตือนเพื่อให้ทราบว่ามีเรื่องที่เกี่ยวข้องถูกส่ง • แนบไฟล์เอกสารประกอบ ระบบสารสนเทศศูนย์ช่วยเหลือสังคม • รับเรื่อง/คัดกรอง • ส่งต่อ / ประสานงานทั้งแบบหน่วยงานและแบบบุคคล • ตรวจสอบตัวตนผู้ใช้บริการจากฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ • แนบไฟล์เอกสารประกอบ • สามารถเปลี่ยนผู้รับผิดชอบงาน (กรณี ย้าย / ลา) ให้บริการ • มีระบบรายงานข้อมูลการติดต่อ ข้อมูลเรื่อง • มีระบบแจ้งเตือนให้ดำเนินการภายในระยะเวลาที่กำหนด • สามารถเพิ่มการติดตามผลในระบบ • มีระบบแจ้งเตือนให้ทราบว่าดำเนินการเรื่องแล้วเสร็จ • ติดตาม/ประเมินผล/แจ้งเตือน • ยุติ/ปรับแผนการช่วยเหลือ
ระบบแจ้งเตือน (Alarm/Alert) มีระบบแจ้งเตือน เมื่อการให้บริการผู้ประสบปัญหาทางสังคมมีความล่าช้า โดยแจ้งเตือนผ่านช่องทาง application, email, SMS โดยแบ่งระดับการแจ้งเตือนออกเป็น 3 ระดับ
OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม (ปัญหาถูกติดตาม มีระบบแจ้งเตือน เรื่องไม่สูญหาย)
งานที่ได้ดำเนินการไปแล้วงานที่ได้ดำเนินการไปแล้ว 23
9 เม.ย. 56 เปิดตัวโครงการ Kick off ประชุมผู้แทนกระทรวงเจ้าภาพหลักและ ICT จัดทำกระบวนงาน workflow จัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน ครูใหญ่ ครู ก ครู ข จัดอบรมหน่วยรับแจ้งเหตุ front line 1 และหน่วยช่วยเหลือ front line 2 Online 9 มิ.ย. 56 พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ OSCC Application Front line 1 Front line 2 จัดประชุมทบทวนบทเรียน จัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือสังคม พม. 6 ก.พ.57 6 ก.พ. 57
งานที่ได้ดำเนินการไปแล้วงานที่ได้ดำเนินการไปแล้ว • การเปิดตัวโครงการ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม • และการลงนามในบันทึกข้อตกลง (MOU) (9 เม.ย.2556) ... ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล ... 25
งานที่ได้ดำเนินการไปแล้วงานที่ได้ดำเนินการไปแล้ว คู่มือการปฏิบัติงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม คู่มือการปฏิบัติงาน คู่มือการใช้ IT • ภาพรวมระบบการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ • การเข้าใช้งานระบบ • กระบวนการรับเรื่องสำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน (Front Line 1) • ขั้นตอนการทำงานเมนูผู้ใช้ระบบ (Admin) • นโยบาย ที่มา และคำนิยามศัพท์ • กลุ่มเป้าหมายหลักของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม • นิยามศัพท์ที่ใช้ในการปฏิบัติงานของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม • ขั้นตอนการดำเนินงานช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม • การรับแจ้งเหตุ/ เบาะแส 4 ช่องทาง • การให้บริการความช่วยเหลือ • ระบบแจ้งเตือน (Alarm)เมื่อบริการล่าช้า • บทบาทหน้าที่ของกระทรวงและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • รายชื่อหน่วยงานรับแจ้งเหตุ/ เบาะแส (Front Line ๑)
งานที่ได้ดำเนินการไปแล้วงานที่ได้ดำเนินการไปแล้ว การฝึกอบรมครู ก • อบรมวิทยากรตัวคูณ (ครู ก) ให้แก่หน่วยงานเจ้าภาพหลักในแต่ละประเด็นปัญหา (พม. รง. สตช.สธ.) • จำนวน 7 รุ่น (77 จังหวัด) • 4 ภาค • ระหว่างวันที่ 20 พ.ค. – 11 มิ.ย. 2556
งานที่ได้ดำเนินการไปแล้วงานที่ได้ดำเนินการไปแล้ว การอบรมครู ข • ระหว่างวันที่ 1 – 25 มิ.ย. 2556 • พมจ. ร่วมกับหน่วยงานที่เข้าร่วมอบรม (ครู ก) จัดอบรมให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม (Front Line 1 และหน่วยให้บริการในจังหวัด) • เนื้อหาการอบรม • นโยบายและความเป็นมาของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม • แนวทางการดำเนินงาน • 2.1 การรับแจ้งเหตุ/ เบาะแส 4 ช่องทาง (Front Line 1) • 2.2 หน่วยงานในจังหวัดที่ทำหน้าที่เป็นหน่วยรับแจ้งเหตุ/ เบาะแส (Front Line 1) • 2.3 หน่วยงานในจังหวัดที่ทำหน้าที่เป็นเจ้าภาพหลัก ใน 4 ปัญหา (Front Line 2) • 2.4 บทบาทหน้าที่ของ Front Line 1 และ Front Line 2 • 2.5 การบูรณาการการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาสังคม 4 ปัญหาหลักของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม • 3. วิธีการใช้งานระบบ OSCC Application
งานที่ได้ดำเนินการไปแล้วงานที่ได้ดำเนินการไปแล้ว ภาพหน้า OSCC Application
งานที่ได้ดำเนินการไปแล้วงานที่ได้ดำเนินการไปแล้ว • การจัดอบรมทบทวนการปฏิบัติงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม แก่ผู้ปฏิบัติงานระดับจังหวัด ใน 38 จังหวัด ที่มีสถานการณ์ 4 ปัญหาในระดับสูง จำนวน 3 รุ่น • วัตถุประสงค์ 1. เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจการดำเนินงาน • 2. เพื่อร่วมกันเป็นเครือข่ายขับเคลื่อน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม ในจังหวัด • 3. เพื่อได้แนวทางปรับปรุงการดำเนินงาน • รุ่นที่ 1 : ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วันที่ 17-18 ก.ย. 2556 • รุ่นที่ 2 : ภาคกลาง วันที่ 19-20 ก.ย. 2556 • รุ่นที่ 3 : ภาคใต้ วันที่ 25-26 ก.ย. 2556
จัดทำกระบวนงาน (Workflow) ช่วยเหลือผู้ประสบปัญหา 4 ประเด็นปัญหา
กระบวนการดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม ในภาพรวม การบูรณาการการช่วยเหลือของ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม ปัญหา ช่องทางการติดต่อ บูรณาการช่วยเหลือในภาวะวิกฤติ การช่วยเหลือภายหลังภาวะวิกฤติ ติดตาม ประเมินผล แจ้งที่หน่วยรับเรื่อง 22,000 หน่วย ทั่วประเทศ การคุ้มครองพิทักษ์สิทธิและการดำเนินการตามกฎหมาย สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด/ บ้านพักเด็กและครอบครัว/ สถานสงเคราะห์ :คุ้มครองสวัสดิภาพ จัดหาที่พักชั่วคราวาว พบเห็น/ ประสบปัญหา โรงพยาบาล : ดูแลสุขภาพ จำกัด ตั้งครรภ์ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส) • ติดตามผล • รายงานผล • จัดเก็บข้อมูล Hot Line:1300 24 ชั่วโมง ฟื้นฟู เยียวยา ด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน :นำเด็กออกจากสถานประกอบการและ ให้การช่วยเหลือ สถานีตำรวจ : รับแจ้งความ สืบสวนดำเนินคดี ค้ามนุษย์ Website www.osccthailand.go.th แรงงานเด็ก หน่วยงานอื่นๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน การช่วยเหลืออื่นๆ ตามสภาพปัญหา ความรุนแรง ต่อเด็กและสตรี ฯ Mobile Application “OSCC 1300” แจ้งเตือน แจ้งเตือน แจ้งเตือน แจ้งเตือน เชื่อมโยงระบบการให้บริการ แจ้งเตือนถึงหน่วยงานผู้รับผิดชอบ เมื่อผู้ประสบปัญหายังไม่ได้รับบริการหรือบริการล่าช้า และปกป้องข้อมูลบุคคลโดยระบบสารสนเทศ ICT 32
กระบวนการดำเนินงานให้ความช่วยเหลือกระบวนการดำเนินงานให้ความช่วยเหลือ
ขั้นตอนการช่วยเหลือกรณีการตั้งครรภ์ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส) กรณีต้องการที่พักชั่วคราว (คลอดบุตรแล้วประสบปัญหา, ตั้งครรภ์หรือสงสัยว่าตั้งครรภ์) 3 3 ตั้งครรภ์ – 1 ปี หลังคลอด 2 1 2 3 ตั้งครรภ์ 1.แจ้งด้วยตนเอง ภายใน 24 ชม. 2. โทร 1300 พิจารณาเลือกข้อเสนอ 3. แจ้งผ่านทางเว็บไซต์/ Mobile Applicaltion (1 วัน) หน่วยให้บริการ ประชุมทีมสหวิชาชีพ (ภายใน 5 วัน) วางแผนทางเลือก ติดตาม/ ประเมินผล 4 ยุติการตั้งครรภ์ พม. สามารถปิด Case ได้ในกรณีที่ผู้ประสบปัญหาสามารถกลับมาใช้ชีวิตได้อย่างปกติสุข/ คืนสู่ครอบครัว สังคม ยุติ/ ปรับแผน การช่วยเหลือ 5 ยุติการตั้งครรภ์ (กรณีเข้าเกณฑ์) บ้านพักเด็กและครอบครัว องค์กรเอกชน ฯลฯ ให้การดูแลเพื่อใช้ชีวิตได้อย่างปกติสุข 3 พม. 34
คำนิยาม “ตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น” หมายถึง เด็กและเยาวชนที่มีอายุต่ำกว่า 20 ปี ตั้งครรภ์หรือสงสัยว่าตั้งครรภ์ โดยเป็นการตั้งครรภ์ที่ไม่ได้ตั้งใจ ไม่ได้ มีการวางแผนการจะให้เกิดขึ้น อันมีสาเหตุมาจาก - ถูกข่มขืน - ถูกทอดทิ้ง ไม่รับผิดชอบ - ถูกล่อลวง มีเพศสัมพันธ์ (โดยไม่ได้ตั้งใจ) - ท้องนอกสมรส - ครอบครัวมีประวัติความรุนแรง - เปิดเผยการท้องต่อสังคมไม่ได้ - คุมกำเนิดล้มเหลว - ต้องออกจากการเรียน - สาเหตุทางเศรษฐกิจ - ต้องออกจากการทำงาน
ขั้นตอนการช่วยเหลือ“ตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น”ขั้นตอนการช่วยเหลือ“ตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น” • การรับเรื่องและคัดกรอง • การช่วยเหลือ • การส่งต่อ • การติดตามและประเมินผล • การปิด Case หรือยุติการให้บริการ
ขั้นตอนที่ 1 การรับเรื่องและคัดกรอง 1. ผู้ประสบปัญหา/พลเมืองดี สามารถแจ้งเรื่องได้โดย - เดินทางมาติดต่อด้วยตนเอง - โทรศัพท์สายด่วน 1300 (ตลอด 24 ชั่วโมง) - แจ้งผ่านเว็บไซต์ www.osccthailand.go.th - แจ้งผ่าน Mobile Application 2. หน่วยงานรับเรื่องจะต้องมีการบันทึกข้อมูลพื้นฐานลงใน OSCC Application
ขั้นตอนที่ 2การช่วยเหลือ การให้การปรึกษาทางเลือก • การตั้งครรภ์ต่อ • ยุติการตั้งครรภ์ อายุครรภ์จะต้องไม่เกิน 12 สัปดาห์ หากอายุครรภ์เกินกว่านี้จะต้องพิจารณารายกรณี แต่จะต้องไม่เกิน 20 สัปดาห์
ขั้นตอนที่ 2การช่วยเหลือ(ต่อ) เมื่อผู้ใช้บริการตัดสินในทางเลือกทั้งสองทาง สิ่งสำคัญจะต้องดำเนินการ คือ 1. การวางแผนคุมกำเนิด รวมทั้งการตรวจสุขภาพหลังคลอด 2. การบำบัด ฟื้นฟู เยียวยาทั้งร่างกายและจิตใจ 3. การศึกษา/อาชีพ/ความเป็นอยู่ทางสังคม รวมทั้งการดูแล เลี้ยงดูบุตร/การช่วยเหลือทางกฎหมาย (กรณีเป็นcase คดี)
ขั้นตอนที่ 3 การส่งต่อ หากไม่สามารถยุติการตั้งครรภ์ได้ และผู้ใช้บริการ ไม่ประสงค์หรือไม่มีความพร้อมที่จะดูแลบุตร จะมีการประสานหน่วยงานของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เพื่อมอบเด็กให้สถานสงเคราะห์ต่อไป
ขั้นตอนที่ 4 การติดตามและประเมินผล 1. หน่วยงานเจ้าภาพหลัก ติดตามและประเมินผลการให้บริการ 2. พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ทำหน้าที่เป็นผู้ติดตาม/ประเมินผล และรวบรวมรวมสถิติการให้บริการความช่วยเหลือของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ขั้นตอนที่ 5 การปิด Case หรือยุติการให้บริการ 1. กรณียุติการตั้งครรภ์ ให้คำแนะนำด้านการวางแผนครอบครัว และวางแผนการดำเนินชีวิตต่อไป ในสังคม 2. กรณีตัดสินใจตั้งครรภ์ต่อ ได้รับบริการฝากครรภ์ในโรงพยาบาล รวมทั้งมีการวางแผนการดำเนินชีวิตต่อไปในสังคม ** ยกเว้นกรณี Case ที่มีปัญหาด้านกฎหมายหรือด้านสังคมที่เป็นปัญหาระยะยาว ให้ส่ง Case ไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แล้วดำเนินการปิด Case
3 ขั้นตอนการช่วยเหลือกรณีผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ 3 24 ชม. ผู้เสียหาย (คนไทย/ ไม่ใช่คนไทย) 1 2 3 กรณีคนไทยติดตามทุก 3 / 6 /12 เดือน 3 1.แจ้งด้วยตนเอง ภายใน 24 ชม. คัดแยกผู้เสียหาย อาจจะเป็นผู้เสียหาย 2. โทร 1300 หน่วยให้บริการ 3. แจ้งผ่านทางเว็บไซต์/ Mobile Applicaltion พามาที่บ้านพักเด็กและครอบครัวในกรณีที่ผู้เสียหายยังไม่พร้อมให้ปากคำ หรือยังไม่มีที่พัก คุ้มครองชั่วคราว 24 ชม. และขยายเวลาอีก 7 วัน 4 สตช. ติดตาม/ ประเมินผล พม. 3 24 ชม. รายงานความคืบหน้าทุก 10 วัน (นับจากวันรับเรื่อง) ไม่ใช่ผู้เสียหาย 3 5 คนไทย ยุติ/ ปรับแผน การช่วยเหลือ 3 พม. ส่ง พงส. ดำเนินการตาม กม. ที่เกี่ยวข้อง ไม่ใช่คนไทย 43
คำนิยาม “การค้ามนุษย์” หมายถึง การแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบจากการ ค้าประเวณี การผลิต หรือการเผยแพร่วัตถุหรือสื่อลามก การแสวงหาประโยชน์ทางเพศในรูปแบบอื่น การเอาคนมาเป็นทาส การนำคนมาขอทาน การบังคับใช้แรงงาน หรือบริการ การบังคับตัดอวัยวะเพื่อการค้าหรือการอื่นใดที่คล้ายคลึงกันอันเป็นการขูดรีดบุคคล ไม่ว่าบุคคลนั้นจะยินยอมหรือไม่ก็ตาม (มาตรา 6 ตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ.2551)
ขั้นตอนการช่วยเหลือ“การค้ามนุษย์”ขั้นตอนการช่วยเหลือ“การค้ามนุษย์” • การรับเรื่องและคัดกรอง • การช่วยเหลือ • การส่งต่อ • การติดตามและประเมินผล • การปิด Case หรือยุติการให้บริการ
ขั้นตอนที่ 1 การรับเรื่องและคัดกรอง 1. กรณีผู้เสียหายอาศัยอยู่ในประเทศไทย ใช้ช่องทางการแจ้งผ่าน Front Line 1 ของหน่วยงานกระทรวงต่างๆ 2. กรณีผู้เสียหายอยู่ต่างประเทศ ผู้เสียหายอาจไปติดต่อที่สถานทูตในแต่ละประเทศ และจะส่งเรื่องต่อให้กับสำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดย บก.ปคม. หรือ ตม. หรือ สปป. เป็น Front Line 1 หน่วยงานที่เป็นทั้ง Front Line 1 และ 2 สำหรับการช่วยเหลือผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ คือ สถานีตำรวจนครบาล/สถานีตำรวจภูธรทุกแห่งทั่วประเทศ/กองกำกับการ 1-6 กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับการค้ามนุษย์
ขั้นตอนที่ 2 การช่วยเหลือ 1. กรณีผู้เสียหายอาศัยอยู่ในประเทศไทย ให้ Front Line 1 ส่งต่อเรื่องให้ Front Line 2 คือ สถานีตำรวจในพื้นที่เกิดเหตุ เพื่อพิจารณาการให้ความช่วยเหลือ 2. กรณีผู้เสียหายอยู่ต่างประเทศ ให้สถานทูตในพื้นที่ผู้เสียหาย พักอาศัยอยู่รับแจ้งเหตุ และสอบข้อเท็จจริงก่อนส่งให้กรมการกงสุล เมื่อสถานทูตดำเนินการให้ความช่วยเหลือส่งผู้เสียหายกลับประเทศไทย และอาจส่งเรื่องให้กับ บก.ปคม./ ตม./ สปป. เพื่อดำเนินการคัดแยกผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ และช่วยเหลือต่อไป
วิธีการ วัตถุประสงค์ ลักษณะการกระทำ • ข่มขู่ • ใช้กำลังบังคับ • ลักพาตัว • ฉ้อฉล • หลอกลวง • ใช้อำนาจโดยมิชอบ • โดยให้เงินหรือผลประโยชน์อย่างอื่นกับผู้ปกครองหรือผู้ดูแลฯ • ค้าประเวณี • ผลิตหรือเผยแพร่วัตถุหรือสิ่งลามก • แสวงหาประโยชน์ทางเพศ ในรูปแบบอื่น • เอาลงเป็นทาส • ขอทาน • บังคับใช้แรงงานหรือบริการ • บังคับตัดอวัยวะเพื่อการค้า • จัดหา • ซื้อ • ขาย • จำหน่าย • พามาจาก • ส่งไปยังที่ใด • หน่วงเหนี่ยว • กักขัง • จัดให้อยู่อาศัย • รับไว้ การค้ามนุษย์
ขั้นตอนที่ 3 การส่งต่อ การส่งต่อ สามารถแบ่งได้เป็น 3 กรณี คือ 1. กรณีเป็นผู้เสียหาย ส่งผู้เสียหายเข้ารับการคุ้มครองสวัสดิภาพที่สถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ จำนวน 9 แห่ง ในสังกัดกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ 2. กรณีอาจจะเป็นผู้เสียหาย ในกรณีที่ไม่สามารถวินิจฉัยได้ว่าเป็นผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ ตาม พรบ.ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ.2551 ให้ส่งตัวเข้าคุ้มครองสวัสดิภาพที่สถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ เพื่อดำเนินการสอบสวนต่อไป
ขั้นตอนที่ 3 การส่งต่อ (ต่อ) 3. กรณีไม่ใช่ผู้เสียหาย กรณีเป็นคนไทย ให้ดำเนินการส่งกลับภูมิลำเนาเดิมและติดตามผลเป็นระยะ กรณีเป็นคนต่างด้าว ให้ส่งตัวคนต่างด้าวให้พนักงานสอบสวนในพื้นที่ดำเนินคดีตามกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น พรบ. คนเข้าเมือง พ.ศ.2522 พรบ.การทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2551 เป็นต้น