130 likes | 288 Views
บทที่ 3 ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ และการเปลี่ยนแปลง SSC281 : Economics 1/2552. รายได้ประชาชาติดุลยภาพ รายได้ประชาชาติที่อยู่ในระดับเดียวกับความต้องการใช้จ่ายมวลรวมเป็นระดับรายได้ประชาชาติที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ตราบเท่าที่ส่วนประกอบของความต้องการใช้จ่ายมวลรวมยังคงสภาพเดิม
E N D
บทที่ 3 ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพและการเปลี่ยนแปลงSSC281 : Economics1/2552 ศศิธร สุวรรณเทพ
รายได้ประชาชาติดุลยภาพรายได้ประชาชาติดุลยภาพ • รายได้ประชาชาติที่อยู่ในระดับเดียวกับความต้องการใช้จ่ายมวลรวมเป็นระดับรายได้ประชาชาติที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ตราบเท่าที่ส่วนประกอบของความต้องการใช้จ่ายมวลรวมยังคงสภาพเดิม • แนวทางการวิเคราะห์รายได้ดุลยภาพแบ่งได้ 2 แนวทาง • แนวทางอุปสงค์รวมเท่ากับอุปทานรวม • แนวทางส่วนรั่วไหลเท่ากับส่วนอัดฉีด ศศิธร สุวรรณเทพ
แนวทางอุปสงค์รวมเท่ากับอุปทานรวม(AD = AS) • อุปสงค์รวมประกอบด้วย C+ I + G + ( X - M ) = AD • อุปทานรวม (AS) คือผลิตภัณฑ์ประชาชาติ (Y) • ดังนั้น รายได้ประชาชาติอยู่ในดุลยภาพเมื่อ อุปสงค์รวม = อุปทานรวม C + I + G + ( X - M ) = Y ศศิธร สุวรรณเทพ
การวิเคราะห์จากกราฟ AD, AS AS = Y AD<Y AD = C+I+G+(X-M) E ADE AD>Y 45 • Y 0 YE Y2 Y1 ศศิธร สุวรรณเทพ
แนวทางส่วนรั่วไหล (Leakage) เท่ากับส่วนอัดฉีด (Injection) • ส่วนรั่วไหลคือส่วนที่ทำให้รายได้ประชาชาติลดลง เมื่อตัวแปร ดังกล่าวเพิ่มขึ้น ประกอบด้วย S , T , M • ส่วนอัดฉีดคือส่วนที่ทำให้รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น เมื่อตัวแปร ดังกล่าวเพิ่มขึ้น ประกอบด้วยรายจ่ายอิสระ Ia , G , X • รายได้ประชาชาติจะอยู่ในระดับดุลยภาพเมื่อ S + T + M = Ia + G + X สมมติให้ Ia: เป็นการลงทุนอิสระ ศศิธร สุวรรณเทพ
การวิเคราะห์จากกราฟ S+T+M=I+G+X S + T + M E I+G+X Ia 0 Y Ye ศศิธร สุวรรณเทพ
การเปลี่ยนแปลงระดับดุลยภาพการเปลี่ยนแปลงระดับดุลยภาพ • รายได้ประชาชาติดุลยภาพจะเปลี่ยนแปลง เมื่อตัวกำหนดรายได้ • เปลี่ยนแปลง ซึ่งตัวกำหนดรายได้ดุลยภาพคือ อุปสงค์รวมและอุปทานรวม • เปลี่ยนแปลง เช่น • การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ C, I , G , ( X - M ) ตัวใดตัวหนึ่งเปลี่ยน หรือ • ทุกตัวเปลี่ยนพร้อมกัน จะทำให้รายได้ดุลยภาพเปลี่ยนแปลงไปด้วย • หรือ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของส่วนรั่วไหล (S,T,M) และส่วนอัดฉีด (I,G,X) ศศิธร สุวรรณเทพ
การวิเคราะห์จากกราฟ กำหนดรายจ่ายของรัฐบาลเพิ่มขึ้น S+T+M=I+G+X AD AS = Y S+T+M AD2 I+G’+X AD1 เมื่อ G I+G+X เมื่อ G 0 Y Y1 Y2 45 • Y 0 Y2 Y1 ศศิธร สุวรรณเทพ
ตัวทวี ( multiplier ) • คือค่าที่เป็นตัวเลขที่แสดงว่าเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายจ่ายอิสระ • แล้ว ระดับรายได้ประชาชาติจะเปลี่ยนแปลงไปเท่าใดของ รายจ่าย • อิสระ เช่น ถ้าการลงทุนอิสระเพิ่มขึ้น • Y = k Ia • เมื่อ Y: การเปลี่ยนแปลงของรายได้ประชาชาติ • Ia: การเปลี่ยนแปลงของการลงทุนอิสระ • k : ตัวทวี ซึ่งมีค่าเท่ากับ 1 / 1 - MPC = 1 / MPS ศศิธร สุวรรณเทพ
ช่วงห่างการเฟ้อ และช่วงห่างการฝืด • รายได้ประชาชาติดุลยภาพที่เกิดขึ้นในขณะใดขณะหนึ่ง อาจจะมี ค่าไม่เท่ากับรายได้ประชาชาติ ณ ระดับที่มีการจ้างงานเต็มที่ (full employment income หรือ potential income ) เมื่อไม่เท่ากันส่วนต่างดังกล่าวเรียกว่า ช่วงห่างรายได้ ( income gap ) ซึ่งมี 2 ชนิดคือ • ช่วงห่างการเฟ้อ • ช่วงห่างการฝืด ศศิธร สุวรรณเทพ
ช่วงห่างการเฟ้อ และช่วงห่างการฝืด • ช่วงห่างการเฟ้อ ( Inflationary gap ) : สภาวะที่ความต้องการใช้จ่ายมวลรวมที่เกิดขึ้นจริงมีค่ามากกว่าความต้องการใช้จ่ายมวลรวมที่มีการจ้างงานเต็มที่ • ช่วงห่างการฝืด ( Deflationary gap ) : สภาวะที่ความต้องการใช้จ่ายมวลรวมที่เกิดขึ้นจริงมีค่าต่ำกว่าความต้องการใช้จ่ายมวลรวมที่มีการจ้างงานเต็มที่ ศศิธร สุวรรณเทพ
การพิจารณาช่วงห่างการเฟ้อและช่วงห่างการฝืดจากกราฟ AD , AS AS = Y ช่วงห่างการเฟ้อ AD2 E2 A ADF Ef AD1 E1 ช่วงห่างการฝืด F : ระดับที่มีการจ้างงานเต็มที่ (Full Employment) 45 o Y 0 Y1 YF Y2 ศศิธร สุวรรณเทพ