1 / 38

เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข : ทางรอดในยุคปฏิรูประบบสุขภาพ ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย

เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข : ทางรอดในยุคปฏิรูประบบสุขภาพ ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย ศูนย์วิจัยและติดตามความเป็นธรรมทางสุขภาพ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก. ขอบเขต. เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข - ประวัติ และขอบเขต ทางรอด - ของใคร ประเทศ สังคม ประชาชน ผู้ให้บริการ กองทุน?

glora
Download Presentation

เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข : ทางรอดในยุคปฏิรูประบบสุขภาพ ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข: ทางรอดในยุคปฏิรูประบบสุขภาพ ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย ศูนย์วิจัยและติดตามความเป็นธรรมทางสุขภาพ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก

  2. ขอบเขต • เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข - ประวัติ และขอบเขต • ทางรอด - ของใคร ประเทศ สังคม ประชาชน ผู้ให้บริการ กองทุน? • ยุคปฏิรูประบบสุขภาพ - ปฏิรูปอะไรบ้าง ระบบสุขภาพ หรือระบบบริการสุขภาพ?

  3. Special characteristics • Externalities ผลภายนอก • Merit goods สินค้าคุณธรรม • Public goods สินค้าสาธารณะ • Non-excludability • Non-rivalness

  4. สินค้า ส่วนบุคคล รักษามะเร็ง ประปาเข้าบ้าน หมดยาก การแย่งชิง หมดง่าย ฉีดวัคซีน ประปาหมู่บ้าน การจัดการสิ่งแวดล้อม สุขศึกษาทางสื่อมวลชน ยาก การแยกแยะ คัดออก ง่าย สินค้า สาธารณะ

  5. Assumption for Market efficiency • Information symmetry • No monopoly

  6. Market failure in health care • Information asymmetry ข้อมูลไม่เท่ากันระหว่างผู้ให้และผู้รับ • No freedom of entry-exit ไม่มีอิสรภาพในการเข้า-ออกจากตลาด

  7. ประกันสุขภาพในบริบทสากลประกันสุขภาพในบริบทสากล • WHO 1999, WHO 2000 ให้ประเทศสมาชิกพิจารณาสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (universal coverage, UC) • WHO 2002 Commission on Macroeconomics and Health เสนอแนะให้ลงทุนด้านสุขภาพ • Barr (2001) Welfare state as a piggy bank

  8. ปรัชญาของหลักสูตรเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข มน. • เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข เน้นการเรียนรู้ ปรัชญาแนวคิดเศรษฐศาสตร์สวัสดิการ เพื่อบรรลุเป้าหมายประสิทธิภาพและความเป็นธรรมของการกระจายทรัพยากรสุขภาพ โดยนิสิตจะได้เรียนรู้เครื่องมือในการวิจัยทางเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข และสามารถเชื่อมโยงกับการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะได้

  9. บทบาทของระบบการคลังด้วยหลักการประกันสุขภาพบทบาทของระบบการคลังด้วยหลักการประกันสุขภาพ WHO(2000) ใช่ ไม่ สินค้าสาธารณะ? เกิดผลภายนอก? ใช่ ไม่ ใช่ อุปสงค์เพียงพอ? รายจ่ายสูง? ใช่ ไม่ ไม่ ใช้หลักการประกัน? เป้าหมายคนจน? ไม่ ใช่ ใช่ ไม่ คุ้มทุน? ไม่ ใช่ รัฐ? เอกชน? ตลาดที่ ต้องควบคุม ไม่คุ้มครอง คุ้มครอง

  10. B ผู้ให้บริการ A ประชาชน/ผู้ป่วย รัฐ/องค์กรวิชาชีพ C กองทุน ระบบประกันสุขภาพ DIRECT PAYMENTS HEALTH SERVICES CLAIMS REGULATION INSURANCE COVERAGE MONEY (TAXES OR PREMIUMS) MONEY PAYMENT (FEES, GLOBAL BUDGET) D REGULATION

  11. Health systems vs health care system • Health: well being of physical, mental, social and spiritual status • Health systems involve people, state, formal, informal and non-formal sectors • Health care systems involve client, state, health providers (formal and folk sectors)

  12. Linkages of health systems and health care system • Health systems • Health care system • Health planning & financing • Health policy & law • Public policy

  13. People’s health and health services • Health promotion: e.g. anti-smoking, exercise, food sanitation • Disease prevention and control: e.g. Pap smear, breast self examination, Thalassaemia control model • Curative services: acute(outpatient, inpatient, ambulatory), chronic • Rehabilitation: institutional, home and community

  14. สิ่งที่กำลังเปลี่ยนแปลงสิ่งที่กำลังเปลี่ยนแปลง • พรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ 17 พ.ย.2542 • พรบ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 18 พ.ย.2545 • สถานพยาบาลประจำครอบครัว (Primary care unit) • ค่าธรรมเนียมแพทย์ - แพทยสภา • พรบ.สุขภาพแห่งชาติ 2546? มาตรา 71, WTO/TRIPS • ฯลฯ

  15. การสำรวจครัวเรือนประเมินผลกระทบโครงการ พย.-ธค 2544 โครงสร้างประชากร All Phuket Samut Sakhon Sukhothai Ubon

  16. โครงสร้างอายุ-เพศ ประชากร บัตรทอง ประกันสังคม ข้าราชการ

  17. Preventive & Promotive Serviceswithin the past 6 months, less chronic cases JICA-HSRI funded project

  18. Preventive & Promotive Serviceswithin the past 6 months JICA-HSRI funded project

  19. Household surveys in 4 provinces

  20. Household surveys in 4 provinces

  21. Household surveys in 4 provinces CSMBS

  22. Household surveys in 4 provinces SSS JICA-HSRI funded project

  23. ความเห็นแพทย์ต่อผู้ป่วยที่ไม่ได้รับยา (% ของผู้ป่วย) Post prescribing survey โครงการ 30 บาท จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์ และคณะ (2545)

  24. การเข้าถึงบริการผู้ป่วยใน มะเร็งต่อเนื่อง ที่ ร.พ.มหาวิทยาลัย *** ประมาณการทั้งปี 2545 เทียบกับเฉลี่ย ปี 2542-44

  25. Impact on Thalassaemia care, CMU Hospital No of cases 30 Baht Drop of beta Thal Major>> beta Thal E

  26. ค่าบริหารจัดการและ กองทุนเงินสำรอง กองทุนหลักประกัน สุขภาพของประชาชน Adjustment budget บัญชีกองทุนกระจายความเสี่ยงระหว่างพื้นที่ที่ Global budget by health need and year-by-year adjustment ค่าบริหารจัดการและ กองทุนเงินสำรอง กองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับพื้นที่ Global budget adjustment Global budget undernational criteria บัญชีบริการ ฉุกเฉิน และข้ามเขต บัญชีบริการ สุขภาพทั่วไป: กรณีผู้ป่วยใน บัญชีบริการ สุขภาพทั่วไป: กรณีผู้ป่วยนอก บัญชีสำหรับบริการที่ต้องเบิกจ่ายย้อนหลัง Risk- adjusted capitation บัญชี ส่วนหัก Per-diem or fee schedule Fee schedule DRG payment โรงพยาบาลและศูนย์การแพทย์เฉพาะทาง หน่วยบริการคู่สัญญาระดับปฐมภูมิ สถานพยาบาลที่ไม่ใช่คู่สัญญาหรืออยู่นอกเขต Per-diemor fee schedule Drug and medical supplies reimbursement สถานพักฟื้นหรือบริการดูแลสุขภาพที่บ้าน ระบบกองทุนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า คณะทำงานหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า สวรส.

  27. ความเสี่ยงของ DRG กับ capitation 3MHIS 2001

  28. Tranplant payment Graft Failure payment Capitation rate (อัตราเหมาจ่าย) Dialysis Capition Dialysis Capition Function Graft Capitation Pre-Failure Cutoff Pre-Transplant Cutoff Post-Transplant Cutoff Post-Failure Cutoff Farley et al 1996

  29. ประเมินผลกระทบต่อผู้ป่วยใน จากข้อมูล 12 แฟ้ม ระยะนำร่อง ปีงบประมาณ 2544 • Inclusive Exclusive • จังหวัด 10 11 จังหวัด • ประชากร 7.7 9.3 ล้านคน • อัตรานอน ก่อน 5.7 8.0 ต่อ 100 คน • อัตรานอน หลัง 6.9 9.0 ต่อ 100 คน • อัตรานอนรพ. ทั้งปี 6.2 8.4 ต่อ 100 คน • อัตรานอนรพ. ทั้งปี 7.9 ต่อ 100 คน ครึ่งปีงบประมาณ 2545 3 จังหวัด (โคราช ปทุมธานี ภูเก็ต)

  30. สัดส่วนการส่งต่อ ก่อน-หลัง 30 บาท จว. Inclusive อัตราส่งต่อลดลง จว. Exclusive อัตราส่งต่อเพิ่ม โดยเฉพาะศัลยกรรม 12.9 * 6.4 Inclusive Exclusive * 3 จังหวัดปี 45 ข้อมูลจากนำร่อง 21 จังหวัด ปี 2544

  31. ผ่าตัดรอได้: DRG 39 cataract surgery Proportion Rate/100,000 before 84 80 after 101 91 ครึ่งปี 2545 ข้อมูล 3 จังหวัด 77 42.4%

  32. โรคคุกคามชีวิต:DRG 122 AMI w/o major comp discharge alive Proportion Inclusive DRG 123 AMI expired from 19% to 25% of total AMI Exclusive DRG 123 from 16% to 19% of total AMI (DRG121-123) Rate/100,000 before 13 17 121-123 after 13 18 ครึ่งปี 2545 ข้อมูล 3 จังหวัด 17 14.1%

  33. กรณีศึกษารายงานการเงินรพ.ศูนย์กรณีศึกษารายงานการเงินรพ.ศูนย์ • รายรับเพิ่มจาก 438.1 -> 496.6 ล้านบาท (6 เดือนเปรียบเทียบ) • รายจ่ายลด จาก 521.6 -> 445.9 ล้านบาท • Quick ratio จาก 1.66 (ตค.44) -> 2.41 (มีค.45) • ยังไม่มีการจัดสรรเงินในจังหวัด • เรียกเก็บต่างจังหวัด เพียง 4.7 ล้านบาท เทียบกับ 32.3 บาทในจังหวัด

  34. High tech vs High touch medicine • มองเห็น “ไข้” มากกว่า “คน” จึงใช้เทคโนโลยีและมีต้นทุนสูง • ถ้าสัมผัสผู้ป่วย ทั้ง “กาย” และ “ใจ” จะได้ higher effectiveness และ lower cost

  35. Medical ethics • Competency • Velacity (telling the truth) • Beneficence • Non-maleficence (do the patient no harm) • Justice (equity or fairness) Doctor-patient relationship reducing medical adverse events

  36. Corporate ethics • Leadership • Transparency • Evidence-based management • Conflict of interest • Pareto efficiency Enhancing good governance & accreditation

  37. สรุป 1 ปี การบริหารโครงการ 30 บาทฯ • การเฉลี่ยความเสี่ยงระดับประเทศกระจายไปเป็นความเสี่ยงของหน่วยบริการที่เล็กที่สุด (CUP) • การจัดงบประมาณเกิดความเท่าเทียม (equality) แต่ไม่เป็นธรรม • ไม่คำนึงถึงระบาดวิทยาภาระโรคและการมีบริการ • ไม่คำนึงถึงการข้ามเขต (Cross-boundaries) • ไม่คำนึงถึงต้นทุนและผลิตภาพ • ผู้ให้บริการตอบสนองไวมากต่อข้อจำกัดของงบประมาณ • ดัชนีชี้วัดทางการเงินปัจจุบันไม่สะท้อนความยั่งยืนของโครงการ

  38. ทางรอดในยุคปฏิรูประบบสุขภาพทางรอดในยุคปฏิรูประบบสุขภาพ • เน้นการเชื่อมโยงของระบบสุขภาพกับระบบบริการสุขภาพ • เน้นการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่ให้ผลคุ้มทุน • จัดระบบการคลังสุขภาพและระบบการจ่ายเงินที่เหมาะสม • ระบบข้อมูล สะท้อนผลงาน ทั้งด้านเวชปฏิบัติครอบครัว ความเป็นเลิศ และ การข้ามเขต • กำหนดตัวชี้วัดทางบัญชีที่สะท้อนความยั่งยืน (ประสิทธิภาพ/คุณภาพ) • แพทย์เน้นรักษา “คน” สัมผัส “กาย” และ “ใจ” ของผู้ป่วยเพื่อสุขภาพพอเพียง

More Related