470 likes | 723 Views
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. โดย ดร.พิสิฐ ลี้อาธรรม คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ 19 มิถุนายน 2556 ณ ห้องประชุม คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เหตุผลและความจำเป็นของการก่อตั้ง กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ. ระบบครอบครัวในสังคมเมือง ประสบการณ์ของตะวันตก อายุยืนยาวมากขึ้น
E N D
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพมหาวิทยาลัยเชียงใหม่กองทุนสำรองเลี้ยงชีพมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย ดร.พิสิฐ ลี้อาธรรม คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ 19 มิถุนายน 2556 ณ ห้องประชุม คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เหตุผลและความจำเป็นของการก่อตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเหตุผลและความจำเป็นของการก่อตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • ระบบครอบครัวในสังคมเมือง ประสบการณ์ของตะวันตก • อายุยืนยาวมากขึ้น • การพัฒนาตลาดทุน และการออมระยะยาว • ระบบบำนาญและการบริหารการคลัง • การจัดระบบการออมแกมบังคับ
เงินออมเพื่อใช้ยามชราเงินออมเพื่อใช้ยามชรา • กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ • กองทุนประกันสังคม • กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ Pension Funds ในประเทศต่างๆมีการลงทุนข้ามประเทศก่อให้เกิด International Capital Flows
แหล่งเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพแหล่งเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เงินที่จ่ายเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • เงินสะสม จากลูกจ้าง • เงินสมทบ จากนายจ้าง • ผลประโยชน์ตอบแทนการลงทุน เป็นนิติบุคคลแยกจากนายจ้างโดยเด็ดขาด ดูแลโดยผู้จัดการกองทุนที่มีความรู้ความสามารถทางด้านการลงทุน
การจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเกิดจากความสมัครใจของทั้งสองฝ่ายการจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเกิดจากความสมัครใจของทั้งสองฝ่าย • นายจ้าง และ ลูกจ้าง คณะกรรมการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
การจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเกิดจากความสมัครใจของทั้งสองฝ่ายการจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเกิดจากความสมัครใจของทั้งสองฝ่าย • นายจ้าง และ ลูกจ้าง คณะกรรมการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • บริษัทจัดการกองทุน ทำหน้าที่บริหารเงินให้เกิดผลประโยชน์ • ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต • การกำกับโดย สำนักงาน คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
นายจ้าง ลูกจ้าง คณะกรรมการกองทุน บริษัทจัดการ ผู้สอบบัญชี กลต ผู้รับฝากบัญชี ผู้รับรองมูลค่า นายทะเบียนสมาชิก โครงสร้างของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
รูปแบบกองทุน • Single Fund (กองทุนเดี่ยว) • Pooled Fund (กองทุนร่วม)
กองทุนเดี่ยว และกองทุนร่วม
ข้อแตกต่างระหว่างรูปแบบกองทุนข้อแตกต่างระหว่างรูปแบบกองทุน
ค่าใช้จ่ายของการจัดการกองทุนค่าใช้จ่ายของการจัดการกองทุน • ค่าธรรมเนียมการจัดการ • ค่าธรรมเนียมผู้รับฝากทรัพย์สิน อิงตามมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุน • ค่าทะเบียนสมาชิก • ค่าผู้สอบบัญชี
การบริหารกองทุน และรายงานผลการดำเนินงาน • สามารถเลือกได้ตามความเหมาะสม (Employee’s choice) • สามารถรับทราบเงินสะสม เงินสมทบ และผลประโยชน์ที่ตนได้รับ ปีละ 2 ครั้ง
สิ่งที่สมาชิกควรทราบเพิ่มเติมสิ่งที่สมาชิกควรทราบเพิ่มเติม • ใครเป็นกรรมการกองทุนในที่ทำงานของคุณ เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้ • ใครเป็นผู้จัดการกองทุน (บริษัทจัดการ) ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • นโยบายการลงทุนของกองทุนเป็นอย่างไร ปัจจุบันกองทุนลงทุนในอะไรบ้าง • มีความเสี่ยงอะไรที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนของกองทุนบ้าง
สิทธิประโยชน์ทางภาษี 3E • หักลดหย่อนตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกินปีละ 10,000 บาท สำหรับส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 15% ของค่าจ้าง และไม่เกิน 490,000 บาท รวมหักได้สูงสุด 500,000 บาท • เงินสมทบที่นายจ้างจ่ายเข้ากองทุน ถือเป็นรายจ่ายของนายจ้างในการคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีตามจำนวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 15% ของค่าจ้าง • ดอกเบี้ย เงินปันผล และกำไรจากการขายหลักทรัพย์ ได้รับยกเว้นภาษี
ลาออกก่อนเกษียณอายุราชการลาออกก่อนเกษียณอายุราชการ หากสมาชิกมีระยะเวลาการทำงานน้อยกว่า 5 ปี ต้องนำไปคำนวณภาษีทั้งจำนวน ระยะเวลาทำงานตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป สามารถเลือกเสียภาษีแยกต่างหากจากเงินได้ประเภทอื่น โดยหักค่าใช้จ่ายได้ 7,000 บาท คูณด้วยจำนวนปีที่ทำงาน เหลือเท่าไรหักได้อีกครึ่งหนึ่ง แล้วคำนวณภาษีตามอัตราภาษีทั่วไป จำนวนวันทำงานตั้งแต่ 183 วันนับเป้น 1 ปี น้อยกว่าปัดทิ้ง เกษียณอายุราชการ หากอายุ 55 ปีขึ้นไป และมีระยะเวลาเข้ากองทุนตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป เงินที่ได้จากกองทุนจะได้รับการยกเว้นภาษีทั้งหมด หากอายุไม่ถึง 55 ปี หรือเข้ากองทุนไม่ถึง 5 ปีขึ้นไปให้คำนวณเช่นเดียวกับการลาออกก่อนเกษียณอายุราชการ สิทธิประโยชน์ทางภาษี (เมื่อสิ้นสุดสมาชิกภาพ)
3 Exemptions (3E) • เงินสะสม จ่ายเข้า ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา • เงินผลประโยชน์จากการลงทุน ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา • เงินกองทุนที่ได้จากเงินสะสม เงินสมทบ และเงินผลประโยชน์ หากเป็นไปตามเงื่อนไข ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
การเลือกแบบแผนการลงทุนการเลือกแบบแผนการลงทุน • อายุการทำงานที่เหลือ • ความเสี่ยง • ความต้องการใช้เงิน และแผนการใช้ชีวิตหลังเกษียณ
6 รูปแบบ แบบระวัง แบบโลดโผน แบบ 4 =แบบ 3 แต่มีหุ้นเพิ่ม เป็น 25% แบบ 5= แบบ 4 แต่มีการลงทุนต่างประเทศปนหุ้น แบบ 6= หุ้น 100% • แบบ1 =ตราสารหนี้ภาครัฐและสถาบันการเงิน 100% • แบบ 2 =แบบ1 + ตราสารหนี้เอกชน • แบบ 3 =แบบ2 +หุ้น10%
แบบ 1(ตราสารหนี้ระยะสั้นภาครัฐ สถาบันการเงิน)
แบบ 3 K Master Pooled Fund (ผสมหุ้นไม่เกิน 10%)
แบบ 4 K Master Pooled Fund (ผสมหุ้นไม่เกิน 25%)
แบบ 5 (ผสมหุ้น และ FIF ไม่เกิน 25%)
6 รูปแบบ: ผลตอบแทนการลงทุน Q1 2556 แบบระวัง แบบโลดโผน แบบ 4: 3.68% แบบ 5: 2.57% แบบ 6: 12.15% • แบบ1 : 0.62% • แบบ2 : 0.71% • แบบ3 : 1.54%
การลงทุนในหุ้นมีความเสี่ยงต่อความผันผวนการลงทุนในหุ้นมีความเสี่ยงต่อความผันผวน • ดัชนี ตลาด เพิ่มสูง ถึง 1631 เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2556 ลดลงเหลือ 1403 เมื่อ 13 มิถุนายน แต่เมื่อวานลงมาเหลือ 1427 • หากเข้าไปผิดจังหวะอาจจะขาดทุนระยะสั้น
SET TRI • ดัชนีผลตอบแทนรวม คือ การคำนวณผลตอบแทนทุกประเภทของการลงทุนในหลักทรัพย์ให้สะท้อนออกมาในค่าดัชนี ทั้งผลตอบแทนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าหลักทรัพย์ที่ลงทุน (Capital gain/loss) สิทธิในการจองซื้อหุ้น (Rights) ซึ่งเป็นสิทธิที่ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมในการซื้อหุ้นเพิ่มทุน ซึ่งมักจะให้สิทธิซื้อในราคาที่ต่ำกว่าราคาตลาด ณ ขณะนั้น และเงินปันผล (Dividends) ซึ่งเป็นส่วนแบ่งของกำไรที่จ่ายให้กับผู้ถือหุ้น โดยมีสมมติฐานเพิ่มเติมว่าเงินปันผลที่ได้รับนี้จะถูกนำไปลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (Reinvest)
เริ่มเป็นสมาชิก แต่เนิ่นๆ จะได้ประโยชน์จากผลตอบแทนทบต้น • เริ่ม เป็นสมาชิก อายุ 30 ขวบจ่ายเข้า 398,746 บาทได้เงิน 1,555,487 บาท • เริ่ม เป็นสมาชิก อายุ 45 ขวบจ่ายเข้า 269,238.49 บาทได้เงิน 829,607 บาท
ประเด็นอื่นๆ ที่น่าสนใจ • ความแตกต่างระหว่างเงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และกองทุนอื่นๆ • อายุราชการแบบไหนควรเปลี่ยนมาเลือกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • ความเสี่ยงในการลงทุนกองทุนสำรองเลี้ยงชีพมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • กองทุนสำรองเลี้ยงชีพมหาวิทยาลัยเชียงใหม่มีโอกาสล้มไหม