1.28k likes | 1.52k Views
เพื่อเข้าใจหลักการและขั้นตอนการจัดการความรู้ และความเชื่อมโยงกับ การพัฒนาระบบราชการ ตาม เกณฑ์คุณภาพ PMQA หมวด 4 เรียนรู้แนวทางในการกำหนดขอบเขต KM (KM Focus Area) เป้าหมาย KM (Desired State) และแผนปฏิบัติการเรื่องการจัดการความรู้ในองค์กร (KM Action Plan). วัตถุประสงค์.
E N D
เพื่อเข้าใจหลักการและขั้นตอนการจัดการความรู้ และความเชื่อมโยงกับการพัฒนาระบบราชการ ตาม เกณฑ์คุณภาพ PMQA หมวด 4 เรียนรู้แนวทางในการกำหนดขอบเขต KM (KM Focus Area) เป้าหมาย KM (Desired State) และแผนปฏิบัติการเรื่องการจัดการความรู้ในองค์กร (KM Action Plan) วัตถุประสงค์
ความสำคัญการจัดการความรู้ความสำคัญการจัดการความรู้ แนวคิดที่สำคัญในการจัดการความรู้ - ความรู้ (Knowledge) - Knowledge Management (KM) - Model ต่างๆ ของ KM แนวทางในการจัดทำแผนการจัดการความรู้ ปัญหา/อุปสรรค เนื้อหาการบรรยาย
เมื่อมีบุคลากรเกษียณอายุหรือลาออกมักมีผลกระทบกับงานเมื่อมีบุคลากรเกษียณอายุหรือลาออกมักมีผลกระทบกับงาน บุคลากรมักทำงานผิดพลาดในเรื่องเดิมๆ (เกิดปัญหาซ้ำๆ) เวลามีปัญหาในการทำงานไม่ทราบว่าจะไปถามผู้ที่เก่งในเรื่องนั้นๆ ได้ที่ไหน ในการค้นหาข้อมูลที่ต้องการซึ่งส่วนใหญ่ใช้เวลานานหาไม่ค่อยพบหรือถ้าพบข้อมูลมักจะไม่ทันสมัย ไม่สมบูรณ์หรือไม่ตรงตามที่ต้องการ ไม่ค่อยมีความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ Process Technology People องค์กรของท่านเป็นอย่างนี้หรือไม่
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 “ มาตรา 11 ส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้ในส่วนราชการ เพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสามารถ ประมวลผลความรู้ในด้านต่างๆ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และเหมาะสมต่อสถานการณ์ รวมทั้งต้องส่งเสริมและพัฒนาความรู้ ความสามารถสร้างวิสัยทัศน์และปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้าราชการในสังกัด ให้เป็นบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้ร่วมกัน...”
กรอบการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ผลสัมฤทธิ์ Results มิติที่ 1: ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มิติที่ 2: คุณภาพการให้บริการ ตัวผลักดัน Driver/Enablers มิติที่ 3:ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ มิติที่ 4: การเรียนรู้และพัฒนาองค์กร • การจัดการความรู้(Knowledge Management) • การจัดการสารสนเทศ (Information Management) • การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management) • การพัฒนากฎหมาย
ความเชื่อมโยงของการพัฒนาระบบราชการ กับ เกณฑ์คุณภาพ PMQA การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เป้าหมาย วิธีการ ผล พรฎ. การจัดการบ้านเมืองที่ดี ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ ผลลัพธ์ 1.เกิดประโยชน์สุขของ ประชาชน 2.เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 3.ประสิทธิภาพและคุ้มค่า 4.ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.ปรับปรุงภารกิจของ ส่วนราชการ 6.อำนวยความสะดวก ให้กับประชาชน 7.ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล ประสิทธิผล การนำ องค์กร คุณภาพ การจัดการ กระบวนการ ประสิทธิภาพ การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ พัฒนาองค์กร องค์กรพัฒนา
ความรู้ เมื่อพูดถึงคำว่า ท่านนึกถึงอะไร?
ความรู้ คือ สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียนการค้นคว้าหรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถ เชิงปฏิบัติและทักษะ ความเข้าใจ หรือ สารสนเทศที่ได้รับมาจากประสบการณ์ สิ่งที่ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิดหรือการปฏิบัติ องค์วิชาในแต่ละสาขา (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒) นิยาม ความรู้
ความรู้คือ สารสนเทศที่ผ่านกระบวนการคิด เปรียบเทียบ เชื่อมโยงกับความรู้อื่น จนเกิดเป็น ความเข้าใจและนำไปใช้ประโยชน์ในการสรุปและ ตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยไม่จำกัดช่วงเวลา (Hideo Yamazaki) นิยาม ความรู้
ความรู้ (Knowledge) สารสนเทศ (Information) ข้อมูล (Data) ลำดับขั้นของความรู้ (อ้างอิงจาก : BDO Chartered)
รูปแบบของความรู้ ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) เอกสาร(Document) - กฎ ระเบียบ(Rule), วิธีปฏิบัติงาน(Practice) ระบบ(System) สื่อต่างๆ – วีซีดี ดีวีดี เทป Internet ทักษะ(Skill) ประสบการณ์(Experience) ความคิด(Mind of individual) พรสวรรค์(Talent)
การแบ่งปันและสร้างความรู้การแบ่งปันและสร้างความรู้ จาก Tacit Knowledge ไปสู่ Tacit Knowledge โดยแลกเปลี่ยนประสบการณ์ตรงของผู้ที่สื่อสารระหว่างกัน Socialization
การสร้างและแบ่งปันความรู้จากการแปลงการสร้างและแบ่งปันความรู้จากการแปลง Tacit Knowledgeเป็น Explicit Knowledge โดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร Externalization
การแบ่งปันและสร้างความรู้ จาก Explicit Knowledge ไปสู่Explicit Knowledge โดยรวบรวมความรู้ประเภท Explicit ที่เรียนรู้ มาสร้าง เป็นความรู้ประเภท Explicit ใหม่ๆ Combination
การแบ่งปันและสร้างความรู้ จาก Explicit Knowledge ไปสู่Tacit Knowledge โดยมักจะเกิดจากการนำความรู้ที่เรียนรู้มาไปปฏิบัติจริง Internalization
องค์ประกอบสำคัญของวงจรสร้างความรู้องค์ประกอบสำคัญของวงจรสร้างความรู้ • คนถือว่าเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุด • - เป็นแหล่งความรู้ • - เป็นผู้นำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ 2. เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือเพื่อให้คนสามารถค้นหา จัดเก็บแลกเปลี่ยน นำความรู้ไปใช้ได้อย่างง่ายและรวดเร็วขึ้น 3. กระบวนการจัดการความรู้เป็นการบริหารจัดการเพื่อนำความรู้จากแหล่งความรู้ไปให้ผู้ใช้ เพื่อทำให้เกิดการปรับปรุงและนวัตกรรม
คุณค่าของ “ความรู้” ความรู้เป็นสินทรัพย์ ใช้แล้วไม่มีวันหมด ยิ่งใช้ยิ่งเพิ่ม ยิ่งใช้มากเท่าไร ยิ่งมีคุณค่าเพิ่มมากขึ้น
ความหมายการจัดการความรู้ความหมายการจัดการความรู้ The World Bank : เป็นการรวบรวมวิธีปฏิบัติขององค์กรและ กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับ การสร้าง การนำมาใช้ และเผยแพร่ความรู้ และบริบทต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิจ European Foundation for Quality Management(EFQM) : วิธีการจัดการความรู้เป็นกลยุทธ์และกระบวนการในการ จำแนกจัดหา และนำความรู้มาใช้ประโยชน์ เพื่อช่วยให้องค์กรประสบความสำเร็จตาม เป้าหมายที่ตั้งไว้
ความหมายการจัดการความรู้ความหมายการจัดการความรู้ The US Department of Army:การจัดการความรู้เป็นแผนการ ที่เป็นระบบและสอดคล้องกันในการ จำแนกบริหารจัดการ และแลก เปลี่ยนสารสนเทศต่างๆ ซึ่งได้แก่ฐานข้อมูล เอกสาร นโยบายและ ขั้นตอนการทำงานรวมทั้งประสบการและความชำนาญต่างๆ ของ บุคคลากรในองค์กร โดยเริ่มจากการรวบรวมสารสนเทศและ ประสบการณ์ต่างๆ ขององค์กร เพื่อเผยแพร่ให้พนักงานสามารถ เข้าถึงและนำไปใช้
ความหมายการจัดการความรู้ความหมายการจัดการความรู้ ก.พ.ร.:การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในส่วนราชการซึ่งกระจัดกระจาย อยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบเพื่อให้ทุกคนใน องค์การสามารถเข้าถึงความรู้และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้ง ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์การมีความ สามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด
ความหมายการจัดการความรู้ความหมายการจัดการความรู้ นพ.วิจารณ์ พานิช: กระบวนการที่ดำเนินการร่วมกันโดย ผู้ปฏิบัติงานในองค์กรหรือหน่วยงานย่อยขององค์กร เพื่อสร้าง และใช้ความรู้ในการทำงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ดีขึ้นกว่าเดิม โดยมีเป้าหมายพัฒนางานและคน
จุดประสงค์การทำ KM BSI Study: KM in Public Sector ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการให้บริการ ผลักดันให้เกิดการสร้างนวัตกรรม เพิ่มประสิทธิภาพ ในการทำงาน ช่วยให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาบุคลากร เรียนรู้เกี่ยวกับความต้องการของผู้ใช้บริการได้ดีขึ้นและ เร็วขึ้น
เป้าหมายการจัดการความรู้ คนและ องค์กร เก่งขึ้น เติบโตขึ้น อย่างยั่งยืน องค์กร บรรลุเป้าหมาย มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล (บรรลุเป้าหมาย) การทำงาน คิดเป็น ทำเป็น คน
กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) 1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) - การบ่งชี้ความรู้ที่องค์กรจำเป็นต้องมี - วิเคราะห์รูปแบบและแหล่งความรู้ที่มีอยู่ เราต้องมีความรู้เรื่องอะไร เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) - สร้างและแสวงหาความรู้จากแหล่งต่าง ๆ ที่กระจัดกระจายทั้งภายใน/ภายนอก เพื่อจัดทำเนื้อหาให้ตรงกับความต้องการ ความรู้อยู่ที่ใคร อยู่ในรูปแบบอะไร จะเอามาเก็บรวมกันได้อย่างไร
กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) • 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ • (Knowledge Organization) • แบ่งชนิดและประเภทของความรู้ เพื่อจัดทำระบบให้ง่ายและสะดวกต่อการค้นหาและใช้งาน จะแบ่งประเภท หัวข้ออย่างไร • 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ • (Knowledge Codification and Refinement) • จัดทำรูปแบบและ “ภาษา”ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วทั้งองค์กร • เรียบเรียงปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยและตรงกับความต้องการ จะทำให้เข้าใจง่ายและสมบูรณ์อย่างไร
กระบวนการจัดการความรู้(Knowledge Management Process) เรานำความรู้มาใช้งานได้ง่ายหรือไม่ • 5. การเข้าถึงความรู้(Knowledge Access) • ความสามารถในการเข้าถึงความรู้ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ในเวลาที่ต้องการ
กระบวนการจัดการความรู้(Knowledge Management Process) • 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ • (Knowledge Sharing) • การจัดทำเอกสาร การจัดทำฐานความรู้ ชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) • ระบบพี่เลี้ยง (Mentoring System) • การสับเปลี่ยนงาน (Job Rotation) มีการแบ่งปันความรู้ให้กันหรือไม่ ความรู้นั้นทำให้เกิดประโยชน์กับองค์กรหรือไม่ ทำให้องค์กรดีขึ้นหรือไม่ • 7. การเรียนรู้ • (Learning) • นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจ • แก้ปัญหาและปรับปรุงองค์กร
แบบประเมินองค์กรตนเองเรื่องการจัดการความรู้หมวด 1 - กระบวนการจัดการความรู้
คน ต้อง “อยาก” ทำ คน ต้องมีทรัพยากรที่จำเป็น (เครื่องมือ ฯลฯ) คน ต้องรู้ว่าทำอย่างไร (ฝึกอบรม, เรียนรู้) คน ต้องประเมินได้ว่าทำได้ตามเป้าหมายหรือ ทำแล้วได้ประโยชน์หรือไม่ คน ต้อง “อยาก” ทำ และปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (มีแรงจูงใจ) ทำอย่างไรให้กระบวนการจัดการความรู้ “มีชีวิต” • รู้ว่าจะทำอะไร • ทำแล้ว ตัวเองได้ประโยชน์อะไร • (ถ้าไม่ทำ จะเสียประโยชน์อะไร)
กระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลงกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) 4 5 6 การยกย่องชมเชย และการให้รางวัล (Recognition and Reward) การฝึกอบรม และการเรียนรู้(Training&Learning) การวัดผล (Measurements) เป้าหมาย (Desired State) 3 2 1 กระบวนการ และเครื่องมือ (Process &Tools) การสื่อสาร (Communication) การเตรียมการและ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Transition and Behavior Management) Robert Osterhoff
กระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลงกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) 4 5 6 การยกย่องชมเชย และการให้รางวัล (Recognition and Reward) การฝึกอบรม และการเรียนรู้(Training&Learning) การวัดผล (Measurements) เป้าหมาย (Desired State) 3 2 1 กระบวนการ และเครื่องมือ (Process &Tools) การสื่อสาร (Communication) การเตรียมการและ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Transition and Behavior Management) Robert Osterhoff
การเตรียมการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเตรียมการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Transition and Behavior Management KM Knowledge Management
การเตรียมความพร้อมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม(Transition and Behavior Management) 1.1 การเตรียมความพร้อม • การมีส่วนร่วมและสนับสนุนจากผู้บริหาร (ที่ทุกคนมองเห็น) • โครงสร้างพื้นฐานขององค์กร • ทีม/ หน่วยงานที่รับผิดชอบ • มีระบบการติดตามและประเมินผล • กำหนดปัจจัยแห่งความสำเร็จชัดเจน 1.2 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม วัฒนธรรมองค์กร
แบบประเมินองค์กรตนเองเรื่องการจัดการความรู้หมวด 2 - ภาวะผู้นำ
“จะ Share ไปทำไม เดี๋ยวคนอื่นก็เก่งกว่าเรา” “ถ้าบอกไปแล้ว เราก็หมดความสำคัญนะซิ” “เรื่องที่เราทำอยู่นี่ ใครๆก็รู้ทั้งนั้น ไม่เห็นต้อง share เลย” “ยุ่งจะตายแล้ว จะหาเวลาที่ไหนมา share ความรู้กัน” “อย่าพูดดีกว่า เดี๋ยวจะข้ามหน้าข้ามตาหัวหน้า” องค์กรของท่านเป็นแบบนี้หรือไม่
“เรื่องที่พูดน่าสนใจมาก แต่ไม่รู้จะทำได้สำเร็จหรือเปล่า อย่าทำดีกว่า ถ้าไม่สำเร็จจะถูกตำหนิเปล่าๆ” “ผมบอกแล้วว่าใช้วิธีเก่าดีกว่า” “พูดเรื่องนี้ไปหลายครั้งแล้ว ไม่เห็นมีอะไรดีขึ้นเลย เลิกพูดดีกว่า” องค์กรของท่านเป็นแบบนี้หรือไม่
วัฒนธรรมองค์กร ต้องเอื้อต่อการจัดการความรู้ (ทำให้อยากแลกเปลี่ยนเรียนรู้) • ไว้เนื้อเชื่อใจกัน (Trust) • อิสระในการคิดและการทำงาน(ในทางสร้างสรรค์) • การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน
แบบประเมินองค์กรตนเองเรื่องการจัดการความรู้หมวด 3 - วัฒนธรรมในเรื่องการจัดการความรู้