1 / 15

แนวทางการจัดทำ Fact Sheet สำหรับนักจัดการข้อมูล

แนวทางการจัดทำ Fact Sheet สำหรับนักจัดการข้อมูล. นายประเสริฐ เก็ม ประโคน กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์ 21 กุมภาพันธ์ 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 3 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์. Framework Layout 1.

grace
Download Presentation

แนวทางการจัดทำ Fact Sheet สำหรับนักจัดการข้อมูล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการจัดทำ Fact Sheet สำหรับนักจัดการข้อมูล นายประเสริฐ เก็มประโคน กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์ 21 กุมภาพันธ์ 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 3 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์

  2. Framework Layout 1 จัดทำ Fact Sheet ขนาด 1 หน้ากระดาษ A4 โดยมีองค์ประกอบ 5 ส่วน ดังนี้ Title name/Introduction : ชื่อเรื่อง/ส่วนนำ สภาพปัญหา/ความสำคัญ/สถานการณ์ สาเหตุของปัญหา/ปัจจัยแห่งความสำเร็จ/ล้มเหลว ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข/แผนการพัฒนาส่วนขาด แหล่งข้อมูล/เอกสารอ้างอิง

  3. Framework Latout 2 จัดทำ Fact Sheet ขนาด 1 หน้ากระดาษ A4 โดยมีองค์ประกอบ 5 ส่วน ดังนี้ Title name/Introduction : ชื่อเรื่อง/ส่วนนำ สภาพปัญหา/ความสำคัญ/สถานการณ์ สาเหตุของปัญหา/ปัจจัยแห่งความสำเร็จ/ล้มเหลว ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข/แผนการพัฒนาส่วนขาด แหล่งข้อมูล/เอกสารอ้างอิง

  4. Framework Layout 3 จัดทำ Fact Sheet ขนาด 1 หน้ากระดาษ A4 โดยมีองค์ประกอบ 5 ส่วน ดังนี้ Title name/Introduction : ชื่อเรื่อง/ส่วนนำ สภาพปัญหา/ความสำคัญ/สถานการณ์ สาเหตุของปัญหา/ปัจจัยแห่งความสำเร็จ/ล้มเหลว ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข/แผนการพัฒนาส่วนขาด แหล่งข้อมูล/เอกสารอ้างอิง

  5. Title name/Introduction : ชื่อเรื่อง/ส่วนนำ ชื่อเรื่อง ........................................................................... ........................................................................................ รพ.สต.....................................อ.............................. จังหวัดบุรีรัมย์ ประจำสัปดาห์ที่ 3 ระหว่างวันอาทิตย์ที่ 16-22 กุมภาพันธ์ 2557 โดย นาย/นาง/นางสาว................................................................. แนวทางการเลือกชื่อเรื่อง เป็นนโยบายที่สำคัญของกระทรวง/จังหวัด/เขต เป็นปัญหาของพื้นที่ เป็นนวัตกรรมการพัฒนาของหน่วยงาน เป็นผลงานเด่น/ผลงานความภาคภูมิใจของหน่วยงาน ตัวอย่าง การพัฒนาระบบจัดการข้อมูลคนตาย รพ.สต.ลุมปุ๊ก อ.เมือง จ.บุรีรัมย์

  6. สภาพปัญหา/ความสำคัญ/สถานการณ์สภาพปัญหา/ความสำคัญ/สถานการณ์ องค์ประกอบการบรรยายสภาพปัญหา/ความสำคัญ/สถานการณ์ บอกขนาดของปัญหา บอกผลกระทบจากปัญหา บอกแหล่งอ้างอิงของข้อมูล หรือแหล่งที่มาของข้อมูล แนวทางการบรรยาย ควรบรรยายเป็นร้อยแก้ว หรือมีรูปภาพ แผนภูมิประกอบ การเปรียบเทียบตามสภาพปัญหา แหล่งข้อมูลในการวิเคราะห์ปัญหาและขนาดของปัญหา ระบบรายงานระดับหน่วยงาน สำหรับนักจัดการข้อมูล จำนวน 30 รายงาน ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด QOF, คตค. ตัวชี้วัดกระทรวง จังหวัด ในเว็บไซด์ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ http://korat.nhso.go.th/ora/surveillance/ http://203.157.162.13/~plan/panthai/ http://122.154.131.241:9999 http://122.154.131.235/pcu_audit http://r9health.org http://203.157.162.18/opbro/ http://203.157.162.18/kpi_all57/

  7. ตัวอย่างการเขียนสภาพปัญหา/ความสำคัญ/สถานการณ์ตัวอย่างการเขียนสภาพปัญหา/ความสำคัญ/สถานการณ์ จากผลการแจ้งข้อมูลคนตายจาก สปสช.เขต 9 นครราขสีมา และสสจ.บุรีรัมย์ ได้ประมวลเพื่อจำแนกคนตายรายสถานบริการที่ยังไม่ถูกจำหน่ายออกจากบัญชี 1 ของ รพ.สต.ลุมปุ๊ก พบว่า มีจำนวน 87 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.16 ของข้อมูลคนตายอำเภอเมืองทั้งหมด (http://203.157.162.18/opbro/) จากสถานการณ์ดังกล่าว ส่งผลให้จังหวัดบุรีรัมย์ มีข้อมูลคนตายที่ได้รับการคัดกรองเบาหวานความดัน สูงเป็นอันดับสองรองจากจังหวัดสุรินทร์ อำเภอเมืองสูงเป็นอันดับ 11 ของจังหวัดบุรีรัมย์ และ รพ.สต.ลุมปุ๊ก มีคนตายได้รับการคัดกรอง 15 ราย สูงเป็นอันดับ 1 ของอำเภอเมือง จากข้อมูลในรอบ 4 เดือน (ก.ค.-ต.ค.56) (http://korat.nhso.go.th/ora/surveillance/ncdscreen2557/) ดังภาพ ดังนั้น รพ.สต.ลุมปุ๊ก จึงได้ร่วมกันวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ปัจจัยแห่งความสำคัญ และปัจจัยแห่งความล้มเหลว เพื่อวางแผนในการพัฒนาข้อมูลให้มีความถูกต้อง และไม่มีการคัดกรองคนตายต่อไป

  8. สาเหตุของปัญหา/ปัจจัยแห่งความสำเร็จ/ล้มเหลว องค์ประกอบ สาเหตุของปัญหา ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ปัจจัยแห่งความล้มเหลว แนวทางการการวิเคราะห์ วิเคราะห์องค์กร ภายใต้การร่วมประชุมทุกคนที่เกี่ยวข้อง ทั้งแบบทางการและไม่เป็นทางการ ใช้วิธีการวิเคราะห์ด้วย MindMapหรือ swot analysis หรือกระบวนการอื่นๆ ตัวอย่าง จากผลการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา โดยทีมสุขภาพ รพ.สต.ลุมปุ๊ก พบว่า มีสาเหตุ เกิดจาก 1.) ขาดการสำรวจข้อมูลคนตายให้เป็นปัจจุบัน 2.) ขาดการตรวจสอบข้อมูลที่คัดกรอง โดย อสม. 3.) ขาดการปรับปรุงข้อมูลคนตายในบัญชี 1 ให้เป็นปัจจุบัน จากแนวทางการแก้ไขปัญหา โดยสสจ.เพื่อจัดการข้อมูลคนตายให้ถูกต้อง ควรมีการสำรวจข้อมูลคนตาย โดย อสม.หรือ นสค.ที่มีการออกเยี่ยมบ้านทุกเดือน ทุกหมู่บ้าน และมีการปรับปรุงบัญชี 1 ทุกเดือน ขณะที่ รพ.สต.ลุมปุ๊ก ยังไม่มีการดำเนินการ ทำให้เกิดความล้มเหลวในการคัดกรองคนตายแล้วดังกล่าว

  9. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข/แผนการพัฒนาส่วนขาดข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข/แผนการพัฒนาส่วนขาด องค์ประกอบ ได้แก่ ข้อเสนอแนะ หรือ แนวทางแก้ไขปัญหา หรือแผนการพัฒนาส่วนขาด ทั้งนี้ จากการวิเคราะห์องค์กร ด้วยกระบวนการค้นหาสาเหตุของปัญหา ควรกำหนดแนวทางแก้ไขปัญหา ในแต่ละประเด็น และนำมากำหนดเป็นแผนการพัฒนาส่วนขาดได้ ตัวอย่าง จากผลการวิเคราะห์องค์กร ดังกล่าว รพ.สต.ลุมปุ๊ก จึงกำหนดแผนการพัฒนาระบบเพื่อแก้ไขปัญหาการคัดกรองคนตาย ดังนี้ ให้นักจัดการข้อมูล ส่งออกข้อมูลที่ สสจ.แจ้งว่ามีคนตายและยังไม่จำหน่ายออกจากบัญชี 1 แยกเป็นรายหมู่บ้านที่ นสค.แต่ละคนรับผิดชอบ กำหนดให้ นสค.ทุกคน สำรวจข้อมูลคนตายทุกหมู่บ้านที่ตนเองรับผิดชอบทุกเดือน ให้ นสค.ทุกคนปรับปรุงข้อมูลคนตาย ในบัญชี 1 ของหมู่บ้านที่ตนเองรับผิดชอบ ทุกเดือน ให้นักจัดการข้อมูล ตรวจสอบข้อมูลคนตายจาก สปสช.หรือ สสจ.ทุกเดือน

  10. แหล่งข้อมูล/เอกสารอ้างอิงแหล่งข้อมูล/เอกสารอ้างอิง องค์ประกอบ ควรมีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลทั้งในส่วนของเนื้อหาในสภาพปัญหา/ความสำคัญ/สถานการณ์ เพื่อสืบค้นได้ง่าย และมีการอ้างอิง ในส่วนสุดท้ายของ fact sheet ทั้งนี้ หากมีพื้นที่ไม่เพียงพอ ให้เปลี่ยนการอ้างอิงในส่วนเนื้อหาเป็นตัวเลขตามลำดับการอ้างอิง และลงรายละเอียดในอ้างอิงส่วนท้ายตามลำดับเลขที่อ้างอิง ตัวอย่าง http://203.157.162.18/opbro/ สืบค้นเมื่อวันที่ 20 ก.พ. 57 เวลา 21.36 น. http://korat.nhso.go.th/ora/surveillance/ncdscreen2557 สืบค้นเมื่อวันที่ 20 ก.พ. 57 เวลา 21.40 น.

  11. การจัดส่ง Fact Sheet ให้เขต เพื่อประเมินผลการพัฒนา “นักจัดการข้อมูล” ของเขตนครชัยบุรินทร์ จึงกำหนดให้นักจัดการข้อมูลทุกหน่วยงาน จัดส่ง Fact Sheet เข้าเว็บไซด์ เขตนครชัยบุรินทร์ สัปดาห์ละ 1 เรื่อง โดยแปลงเป็น PDF File และ upload โดยใช้รหัสผ่านของแต่ละหน่วยงาน ดังนี้ • เข้าสู่ website เขตนครชัยบุรินทร์ โดยไปที่ http://r9health.org • ใช้รหัสผ่านที่ได้เพื่อทำการ login เข้าระบบ ดังภาพ http://r9health.org 1 3 2

  12. 4 5

  13. 6 7

  14. 8 10 9

  15. 11 12 กรณีที่มีการ upload file ผิดพลาด หรือ ต้องการแก้ไข file ใหม่ ให้เลือก click ขวา ที่รูป pdfที่ต้องการลบหรือแก้ไข จะได้ ดังรูป ให้เลือก update หากต้อการแก้ไข หรือเลือก delete หากต้องการลบ ทั้งนี้ หากเลือก ลบ จะ upload ใหม่ไม่ได้จึงแนะนำให้เลือก update แทนไปก่อน 13

More Related