1 / 34

แผนงานก่อสร้างท่าเรือ

แผนงานก่อสร้างท่าเรือ. การก่อสร้างท่าเรือน้ำลึกปากบารา ตามแผนการพัฒนาระยะที่ 1 มีเป้าหมายสำหรับรองรับปริมาณสินค้า 825,000 TEUs. แผนงานก่อสร้าง (1/2). โครงการ 2ล้านล้าน. แผนงานก่อสร้างท่าเรือ.

grady
Download Presentation

แผนงานก่อสร้างท่าเรือ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนงานก่อสร้างท่าเรือแผนงานก่อสร้างท่าเรือ การก่อสร้างท่าเรือน้ำลึกปากบารา ตามแผนการพัฒนาระยะที่ 1 มีเป้าหมายสำหรับรองรับปริมาณสินค้า 825,000 TEUs แผนงานก่อสร้าง (1/2) โครงการ 2ล้านล้าน

  2. แผนงานก่อสร้างท่าเรือแผนงานก่อสร้างท่าเรือ การก่อสร้างท่าเรือน้ำลึกปากบารา ตามแผนการพัฒนาระยะที่ 1 มีเป้าหมายสำหรับรองรับปริมาณสินค้า 825,000 TEUs แผนงานก่อสร้าง (2/2)

  3. ความยาวท่าเทียบเรือสินค้าตู้ : 750 ม. ความยาวท่าเทียบเรือบริการ : 292 ม. ท่าเรือระยะที่ 1 ส่วนที่1

  4. ความยาวท่าเทียบเรือสินค้าตู้ : 750 ม. ความยาวท่าเทียบเรือบริการ : 292 ม. ท่าเรือระยะที่ 1 ส่วนที่2

  5. งานขุดลอก (Dredging Work) วิธีการขุดลอกดินสำหรับโครงสร้างท่าเรือออกเป็น 2 วิธี คือ • การขุดโดยใช้เรือ Trailing Suction Hopper Dredger ในบริเวณพื้นที่ร่องน้ำเดินเรือ ขุดลึกที่ระดับ -14 ม. LLW หรือ –14.90 ม. MLWS ปริมาณดินขุดแน่น 9.01 ล้านลูกบาศก์ • การขุดโดยใช้วิธี Grab Dredger ในบริเวณฐานรากเขื่อนกันคลื่น และคันกันพื้นที่ถมท่าเรือ ปริมาณดินขุดแน่น 0.97 ล้านลูกบาศก์เมตร

  6. ขั้นตอนการการก่อสร้างท่าเรือขั้นตอนการการก่อสร้างท่าเรือ 1. งานขุดลอกร่องน้ำเดินเรือ • งานขุดลอกรวม 9.98 ล้านลูกบาศก์เมตร • งานบำรุงรักษาร่องน้ำ 0.58 ล้านลูกบาศก์เมตร/4ปี แนวร่องน้ำเดินเรือระยะแรก Turning Basin 600 m.

  7. เรือขุดลอก Trailing Suction Hopper Dredger

  8. พื้นที่ทิ้งตะกอนดิน 30 กม. พื้นที่ทิ้งตะกอนดินช่วงดำเนินการ พื้นที่ทิ้งตะกอนดินช่วงก่อสร้าง

  9. ขั้นตอนการการถมทะเล 1.การขุดลอกดินเลนใต้คันหิน (Trench Dredging) 2. การแทนที่ทรายใต้คันหิน (Replace Sand)

  10. เรือขุดลอกแบบ Grab Dredger Trench Dredging ม่านกันตะกอน

  11. เขื่อนกันคลื่น = 390,000 m3 พื้นที่ท่าเรือ = 580,000 m3 2. การแทนที่ทรายใต้คันหิน (Replace Sand) พื้นที่ท่าเรือ เขื่อนกันคลื่น

  12. ขั้นตอนการการถมทะเล 1.การขุดลอกดินเลนใต้คันหิน (Trench Dredging) 2. การแทนที่ทรายใต้คันหิน (Replace Sand) 3.2 การก่อสร้างเขื่อนกันคลื่น (Break Water) 3.3 การก่อสร้างโครงท่าเทียบเรือ (Container Berth) 3.1 การก่อสร้างคันหินล้อมพื้นที่ท่าเรือ (Rubble stone)

  13. แผนผังการถมทะเลพื้นที่ท่าเรือแผนผังการถมทะเลพื้นที่ท่าเรือ 1.คันหินล้อมพื้นที่ท่าเรือ 2. ท่าเทียบเรือคอนเทนเนอร์ 3. ท่าเทียบเรือบริการ (เว้นเพื่อเป็นช่องเรือขนทรายผ่าน)

  14. 3. ปริมาณหิน (Rock Work) หินที่ใช้ในการก่อสร้างในโครงการมีปริมาณประมาณ 1.19 ล้าน ลบ.ม. พื้นที่ท่าเรือ เขื่อนกันคลื่น

  15. MSL. +0.00 MSL. +0.00 EXISTING SEABED -7.00 m. EXISTING SEABED -7.00 m. SAND SAND QUARRY RUN QUARRY RUN QUARRY RUN QUARRY RUN ขั้นตอนการก่อสร้าง - คันหินล้อมพื้นที่ถมทะเล ขั้นที่ 1 เรียงหินชั้นใน 0 - 100 kg. โดยเรือบรรทุก ขั้นที่ 2 ปรับ slope หินชั้นในโดยใช้ Raking Beam ขั้นที่ 4 เรียงหินชั้นรอง สำหรับชั้นถัดมาโดยใช้ Rock skip ขั้นที่ 3 ถมทรายชั้นที่ 1 โดยเรือบรรทุก

  16. SAND SAND SAND SAND QUARRY RUN QUARRY RUN QUARRY RUN QUARRY RUN ขั้นตอนการก่อสร้าง - คันหินล้อมพื้นที่ท่าเรือ ขั้นที่ 5 ถมทรายชั้นที่ 2 โดยใช้ CLAMSHELL ขั้นที่ 6 ปรับ slope หินชั้นในโดยใช้ LONG ARM BACKHOE ขั้นที่ 8 เรียงหินชั้นบริเวณ Toe โดยใช้เรือบรรทุก ขั้นที่ 7 ถมทรายชั้นที่ 3 โดยใช้ CLAMSHELL

  17. QUARRY RUN SAND SAND SAND FILTER CLOTH (GEOTEXTILE) FILTER CLOTH (GEOTEXTILE) UNDERLAYER (50-200 kg.) QUARRY RUN QUARRY RUN ขั้นตอนการก่อสร้าง - คันหินล้อมพื้นที่ท่าเรือ ขั้นที่ 9 ปรับ slope หินชั้นในบริเวณ Toe โดยใช้ RAKING BEAM ขั้นที่ 10 ติดตั้งแผ่น GEOTEXTILE ขั้นที่ 11 เรียงหิน/ปรับ slope หินชั้นรองโดยใช้ ROCK SKIP และ LONG ARM BACKHOE

  18. ขั้นตอนการก่อสร้าง - คันหินล้อมพื้นที่ท่าเรือ ขั้นที่ 12 เรียงหิน/ปรับ slope หินชั้นนอกโดยใช้ CLAMSHELL และ LONG ARM BACKHOE ขั้นที่ 13 เรียงหิน/ปรับ slope หินชั้นรอง และชั้นนอกขั้นสุดท้ายเมื่อทำการถมดินในพื้นที่แล้ว

  19. ขั้นตอนการการถมทะเล 1.การขุดลอกดินเลนใต้คันหิน (Trench Dredging) 2. การแทนที่ทรายใต้คันหิน (Replace Sand) 3.2 การก่อสร้างเขื่อนกันคลื่น (Break Water) 3.3 การก่อสร้างโครงท่าเทียบเรือ (Container Berth) 3.1 การก่อสร้างคันหินล้อมพื้นที่ท่าเรือ (Rubble stone)

  20. MSL. +0.00 MSL. +0.00 EXISTING SEABED EXISTING SEABED SAND SAND RUBBLE STONE (< 100 kg.) RUBBLE STONE (< 100 kg.) ขั้นตอนการก่อสร้าง – เขื่อนกันคลื่น ขั้นที่ 1 เรียงหินชั้นใน 0 - 100 kg. โดยเรือบรรทุก ฝั่งทะเล ขั้นที่ 2 ปรับ slope หินชั้นในโดยใช้ LONG ARM BACKHOE

  21. SAND RUBBLE STONE (< 100 kg.) UNDERLAYER (100-300 kg.) ขั้นตอนการก่อสร้าง – เขื่อนกันคลื่น ขั้นที่ 3 เรียงหินชั้นรองโดยใช้ CLAMSHELL ฝั่งด้านทะเล และปรับ slope หินชั้นในโดยใช้ LONG ARM BACKHOE ฝั่งด้านท่าเรือ ขั้นที่ 4 เรียงหินชั้นรองโดยใช้ CLAMSHELL ฝั่งด้านท่าเรือและปรับ slope หินชั้นรอง ฝั่งด้านทะเลโดยใช้ LONG ARM BACKHOE

  22. ขั้นตอนการก่อสร้าง – เขื่อนกันคลื่น ขั้นที่ 5 ปรับแนวเรียงหินชั้นรอง ด้านฝั่งท่าเรือ โดยใช้ LONG ARM BACKHOE และ เรียงหินชั้นรองในส่วนบนของเขื่อนกันคลื่น ขั้นที่ 6 ปรับแนวเรียงหินชั้นนอก ด้านฝั่งท่าเรือ โดยใช้ LONG ARM BACKHOE และ เรียงหินชั้นนอกในส่วนบนของเขื่อนกันคลื่น

  23. ขั้นตอนการก่อสร้าง – เขื่อนกันคลื่น ขั้นที่ 7 เสร็จสมบูรณ์ SEA SIDE PORT SIDE

  24. 1.ขั้นตอนการการถมทะเล 1.การขุดลอกดินเลนใต้คันหิน (Trench Dredging) 2. การแทนที่ทรายใต้คันหิน (Replace Sand) 3.2 การก่อสร้างเขื่อนกันคลื่น (Break Water) 3.3 การก่อสร้างโครงท่าเทียบเรือ (Container Berth) 3.1 การก่อสร้างคันหินล้อมพื้นที่ท่าเรือ (Rubble stone)

  25. ขั้นตอนการก่อสร้าง – โครงสร้างหน้าท่า ขั้นที่ 1 ขุดลอกตะกอนดินบริเวณหน้าท่าเทียบเรือและคันหินป้องกันตลิ่ง

  26. ขั้นตอนการก่อสร้าง – โครงสร้างหน้าท่า ขั้นที่ 2 ตอกเสาเข็มโครงสร้างท่าเรือ

  27. ขั้นตอนการก่อสร้าง – โครงสร้างหน้าท่า ขั้นที่ 3 เรียงหินล้อมคันหน้าท่าทีละชั้น

  28. โครงสร้างท่าเทียบเรือ (Container Berth) ขั้นที่ 4 เทพื้นคอนกรีตหน้าท่าเทียบเรือ

  29. ขั้นตอนการการถมทะเล 1.การขุดลอกดินเลนใต้คันหิน (Trench Dredging) 2. การแทนที่ทรายใต้คันหิน (Replace Sand) 3.2 การก่อสร้างเขื่อนกันคลื่น (Break Water) 3.3 การก่อสร้างโครงท่าเทียบเรือ (Container Berth) 3. การก่อสร้างคันหิน (Rubble stone) 4. งานถมทะเล และ ปรับปรุงดิน (Reclamation Work)

  30. ขั้นตอนการถมทะเลและปรับปรุงดินขั้นตอนการถมทะเลและปรับปรุงดิน ขั้นที่ 1 ขนทรายโดยใช้เรือ Hopper Barge ทำการถมอย่างสม่ำเสมอ จากระดับ -7 เมตรเป็น -2.0 เมตร ถมจากระดับ -7.0 เป็น -2.0 เมตร

  31. ขั้นตอนการถมทะเลและปรับปรุงดินขั้นตอนการถมทะเลและปรับปรุงดิน ขั้นที่ 2 ใช้ Sand Pump ดูดทรายมาถมจากระดับ -2.0 เป็น +3.0 เมตร แล้วปรับระดับดินโดยใช้รถ Bulldozer ถมจากระดับ -2.0 เป็น +3.0 เมตร

  32. ขั้นตอนการถมทะเลและปรับปรุงดินขั้นตอนการถมทะเลและปรับปรุงดิน ขั้นที่ 3 ติดตั้งระบบเร่งการทรุดตัวด้วยแผ่น PVD ที่ระดับ -14.0 ถึง ระดับ +3.0 เมตร ระดับ+3.0 เมตร

  33. ขั้นตอนการถมทะเลและปรับปรุงดินขั้นตอนการถมทะเลและปรับปรุงดิน ขั้นที่ 4 บดอัดทรายจากระดับ +3.0 เป็น +5.0 เมตร โดยบดอัดเป็นชั้น ๆ ให้ความแน่นมากกว่า 95 % ของค่าความหนาแน่นสูงสุด ถมจากระดับ +3.0 เป็น +5.0 เมตร

  34. ขั้นตอนการถมทะเลและปรับปรุงดินขั้นตอนการถมทะเลและปรับปรุงดิน ขั้นที่ 5 ถมทรายพื้นที่ส่วนที่ 1 จากระดับ +5.0 เป็น +8.0 ม.เพื่อเป็นทรายSurcharge รอดินทรุดตัวประมาณ 6 เดือนย้ายทรายSurcharge ไปพื้นที่ส่วนที่ 2 ปรับระดับดินแล้วเริ่มการก่อสร้างอาคารต่อไป ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 1 ถมจากระดับ +5.0 เป็น +8.0 เมตร

More Related