1 / 40

บทบาททันตบุคลากร ในการ รณรงค์ เพื่อการไม่สูบบุหรี่

บทบาททันตบุคลากร ในการ รณรงค์ เพื่อการไม่สูบบุหรี่. กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. ทำไมต้องเป็นทันตบุคลากร. การทำ M eta-analysis โดย U.S.Department of Health and Human Services พบว่าทันตแพทย์สามารถช่วยผู้ป่วยเลิกบุหรี่ได้ดีเท่ากับบุคลากรทางการแพทย์อื่น เช่น แพทย์ และพยาบาล

Download Presentation

บทบาททันตบุคลากร ในการ รณรงค์ เพื่อการไม่สูบบุหรี่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทบาททันตบุคลากรในการรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่บทบาททันตบุคลากรในการรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย

  2. ทำไมต้องเป็นทันตบุคลากรทำไมต้องเป็นทันตบุคลากร • การทำ Meta-analysis โดย U.S.Department of Health and Human Services พบว่าทันตแพทย์สามารถช่วยผู้ป่วยเลิกบุหรี่ได้ดีเท่ากับบุคลากรทางการแพทย์อื่น เช่น แพทย์ และพยาบาล • การให้ผู้สูบบุหรี่รับรู้ถึงสภาพปัญหาในช่องปาก การให้คำแนะนำแบบตัวต่อตัว การติดตามผู้ป่วย และการนัดหมายอย่างต่อเนื่อง ล้วนมีผลต่อการเลิกบุหรี่ของผู้ป่วย

  3. FDI Statement on TobaccoTobacco in Daily Practice • FDI กระตุ้นให้สมาชิกมีบทบาทในการลดการสูบบุหรี่ของประชาชน • FDI กระตุ้นให้สมาชิกผสมผสานงานป้องกันการสูบบุหรี่และการเลิกบุหรี่เข้าในงานบริการคลินิกทันตกรรม

  4. จรรยาปฏิบัติสำหรับบุคลากรในวิชาชีพสุขภาพจรรยาปฏิบัติสำหรับบุคลากรในวิชาชีพสุขภาพ • สมัชชาบุหรี่โลก ( FCTC สมาชิก 120 ประเทศ ) ร่วมกันร่าง Code of practice for health professionals: เน้นบทบาท - เป็นตัวอย่างในการไม่สูบบุหรี่ - ให้ข้อมูลพิษภัยบุหรี่แก่ประชาชน - ให้การรักษาผู้ต้องการเลิกบุหรี่ - ไม่รับการสนับสนุนทุกรูปแบบไม่ว่าเพื่อกิจการใดจากบริษัทบุหรี่ - ชี้นำ และสนับสนุนนโยบายควบคุมยาสูบระดับประเทศ / ชุมชน

  5. กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย การดำเนินงานในประเทศไทยระยะที่ 1 2540 2541 2543 2544 สำรวจทัศนคติ โครงการนำร่อง 4 จังหวัด จัดทำคู่มือฯ อบรมทันตบุคลากรรุ่น 1

  6. ระยะที่ 2 2545 2546 2547 2547 2547 จดหมายข่าว ตั้งเครือข่าย ทันตบุคลากรเพื่อการไม่ สูบบุหรี่ การศึกษาเครื่องมือการคัดกรองโรคมะเร็งช่องปาก จัดทำเนื้อหาการเรียนการสอน สำหรับนักศึกษา อบรม รุ่น 2 ขยายเครือข่าย

  7. คู่มือสำหรับทันตบุคลากร เนื้อหา - ความรู้เกี่ยวกับส่วนประกอบของบุหรี่ - ผลต่อสุขภาพ โรคในช่องปากกับบุหรี่ - การทำความเข้าใจพฤติกรรมผู้ติดบุหรี่ - หลักการ 4As - กฏหมายเกี่ยวกับการควบคุมการสูบบุหรี่ ส่งให้ทันตแพทย์ที่สนใจและคลินิก 1,000 แห่ง

  8. สื่อสนับสนุนโครงการ

  9. คู่มือสนับสนุนผู้ปฏิบัติงานคู่มือสนับสนุนผู้ปฏิบัติงาน

  10. โครงการปัจจุบันของกองทันตสาธารณสุขโครงการปัจจุบันของกองทันตสาธารณสุข • ร่วมมือกับทันตแพทยสภา ทำโครงการบทบาทวิชาชีพทันตแพทย์กับการควบคุมยาสูบ คณะกรรมการอำนวยการ คณะทำงานชุดที่ 1 คลินิกทันตกรรมเพื่อการไม่สูบบุหรี่ จัดทำคู่มือการดำเนินงานสำหรับทันตบุคลากร และสนับสนุนสื่อ โครงการกระต่ายขาเดียว คณะทำงานชุดที่ 2 ประสานเครือข่าย จัดทำฐานข้อมูล เครือข่ายสุขภาพในกทม. การสำรวจการสูบบุหรี่ในทพ. / ทภ. www คณะทำงานชุดที่ 3 งานวิจัย พัฒนาบุคลากร สนับสนุนให้มีการวิจัย 16 เรื่อง

  11. โครงการปัจจุบันของกองทันตสาธารณสุขโครงการปัจจุบันของกองทันตสาธารณสุข • เครือข่ายสุขภาพเพื่อการไม่สูบบุหรี่ แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัช พยาบาล สาธารณสุข เทคนิคการแพทย์ กายภาพบำบัด ทำโปสเตอร์จรรยาปฏิบัติ หลักสูตรสำหรับ นศ. สุขภาพ เดิน/วิ่ง

  12. บทบาทต่อไปของทันตบุคลากรบทบาทต่อไปของทันตบุคลากร • เข้าร่วมกิจกรรมวันงดบุหรี่โลก 31พฤษภาคม 2549 • ให้การช่วยผู้ต้องการเลิกบุหรี่ในคลินิกทันตกรรม • สนับสนุนนโยบายสาธารณะเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบในชุมชน • สนับสนุนให้เกิดกิจกรรมรณรงค์ในกลุ่มเสี่ยง เช่นโรงเรียน โรงงาน • จัดอบรมบุคลากรที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ให้มีความรู้ในการควบคุมยาสูบ

  13. กิจกรรมวันงดบุหรี่โลกกิจกรรมวันงดบุหรี่โลก • 31 พฤษภาคม49วันงดบุหรี่โลก • คำขวัญปีนี้ “ Tobacco: Deadly in any form or disguise ” “ ยาสูบทุกรูปแบบ เป็นอันตรายถึงชีวิต ” • ส่วนกลาง นิทรรศการที่มาบุญครองร่วมกับ กรมควบคุมโรค มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ เครือข่ายต่าง ๆ ฯลฯ

  14. บทบาทต่อไปของทันตบุคลากรบทบาทต่อไปของทันตบุคลากร • เข้าร่วมกิจกรรมวันงดบุหรี่โลก 31พฤษภาคม 2549 • ให้การช่วยผู้ต้องการเลิกบุหรี่ในคลินิกทันตกรรม • สนับสนุนนโยบายสาธารณะเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบในชุมชน • สนับสนุนให้เกิดกิจกรรมรณรงค์ในกลุ่มเสี่ยง เช่นโรงเรียน โรงงาน • จัดอบรมบุคลากรที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ให้มีความรู้ในการควบคุมยาสูบ

  15. การดำเนินงานช่วยผู้ต้องการเลิบุหรี่ในคลินิกทันตกรรมการดำเนินงานช่วยผู้ต้องการเลิบุหรี่ในคลินิกทันตกรรม • การเตรียมทีมงาน เตรียมสถานที่และสิ่งแวดล้อมให้ปลอดบุหรี่ • การช่วยเหลือผู้ต้องการเลิกบุหรี่ตามขั้นตอน 4As Ask ซักถามและบันทึกประวัติการสูบบุหรี่ Advise แนะนำและชักจูงใจให้ผู้ป่วยต้องการเลิกบุหรี่ Assist ให้การช่วยเหลือผู้ต้องการเลิกบุหรี่ทุกคน Arrange การติดตาม และช่วยเหลือผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง

  16. บทบาทต่อไปของทันตบุคลากรบทบาทต่อไปของทันตบุคลากร • เข้าร่วมกิจกรรมวันงดบุหรี่โลก 31พฤษภาคม 2549 • ให้การช่วยผู้ต้องการเลิกบุหรี่ในคลินิกทันตกรรม • สนับสนุนนโยบายสาธารณะเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบในชุมชน • สนับสนุนให้เกิดกิจกรรมรณรงค์ในกลุ่มเสี่ยง เช่นโรงเรียน โรงงาน • จัดอบรมบุคลากรที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ให้มีความรู้ในการควบคุมยาสูบ

  17. นโยบายสาธารณะเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบพรบ.คุ้มครองผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ.2535 • ห้ามสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ(ผู้ฝ่าฝืนปรับไม่เกิน 2,000 บาท) • เจ้าของสถานที่ เช่น ห้างสรรพสินค้า ร้านอาหาร ร้านตัดผม ไม่จัดให้เป็นที่ปลอดบุหรี่ (ปรับไม่เกิน 20,000บาท)

  18. นโยบายสาธารณะเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบพรบ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบนโยบายสาธารณะเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบพรบ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ • ห้ามโฆษณาผลิตภัณฑ์ยาสูบทุกรูปแบบ ( รวมถึงการโชว์สินค้าที่สะดุดตา ) • ห้ามเผยแพร่ แจกแถมตัวอย่างผลิตภัณฑ์หรือส่งเสริมการขายทุกรูปแบบ • ห้ามจำหน่ายบุหรี่ปลีกเป็นมวน หรือบุหรี่ซองเล็กที่มี <20 มวน • ห้ามจำหน่ายบุหรี่ให้ผู้อายุต่ำกว่า 18 ปี

  19. บทบาทต่อไปของทันตบุคลากรบทบาทต่อไปของทันตบุคลากร • เข้าร่วมกิจกรรมวันงดบุหรี่โลก 31พฤษภาคม 2549 • ให้การช่วยผู้ต้องการเลิกบุหรี่ในคลินิกทันตกรรม • สนับสนุนนโยบายสาธารณะเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบในชุมชน • สนับสนุนให้เกิดกิจกรรมรณรงค์ในกลุ่มเสี่ยง เช่นโรงเรียน โรงงาน • จัดอบรมบุคลากรที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ให้มีความรู้ในการควบคุมยาสูบ

  20. รูปแบบการสนับสนุนจากกรมอนามัยรูปแบบการสนับสนุนจากกรมอนามัย • การฝึกอบรม • การจัดทำคู่มือปฏิบัติงาน • การจัดประชุมวิชาการ • สนับสนุนงบประมาณในการวิจัย • สนับสนุนสื่อ

  21. อากาศสดใส ไร้ควันบุหรี่

  22. บทบาททันตบุคลากรในการรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่บทบาททันตบุคลากรในการรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย

  23. FDI Statement on TobaccoTobacco in Daily Practice • The FDI urges its Member Associations and all oral health professionals to take decisive actions to reduce tobacco use and nicotine addiction among the general public. • The FDI also urges all oral health professionals to integrate tobacco use prevention and cessation services into their routine and daily practice.

  24. จรรยาปฏิบัติสำหรับบุคลากรในวิชาชีพสุขภาพจรรยาปฏิบัติสำหรับบุคลากรในวิชาชีพสุขภาพ • สมัชชาบุหรี่โลก ( FCTC สมาชิก 120 ประเทศ ) ร่วมกันร่าง Code of practice for health professionals: เน้นบทบาท - เป็นตัวอย่างในการไม่สูบบุหรี่ - ให้ข้อมูลพิษภัยบุหรี่แก่ประชาชน - ให้การรักษาผู้ต้องการเลิกบุหรี่ - ไม่รับการสนับสนุนทุกรูปแบบไม่ว่าเพื่อกิจการใดจากบริษัทบุหรี่ - ชี้นำ และสนับสนุนนโยบายควบคุมยาสูบระดับประเทศ / ชุมชน

  25. กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย การดำเนินงานในประเทศไทยระยะที่ 1 2540 2541 2543 2544 สำรวจทัศนคติ โครงการนำร่อง 4 จังหวัด จัดทำคู่มือฯ อบรมทันตบุคลากรรุ่น 1

  26. ระยะที่ 2 2545 2546 2547 2547 2547 จดหมายข่าว ตั้งเครือข่าย ทันตบุคลากรเพื่อการไม่ สูบบุหรี่ การศึกษาเครื่องมือการคัดกรองโรคมะเร็งช่องปาก จัดทำเนื้อหาการเรียนการสอน สำหรับนักศึกษา อบรม รุ่น 2 ขยายเครือข่าย

  27. คู่มือสำหรับทันตบุคลากร เนื้อหา - ความรู้เกี่ยวกับส่วนประกอบของบุหรี่ - ผลต่อสุขภาพ โรคในช่องปากกับบุหรี่ - การทำความเข้าใจพฤติกรรมผู้ติดบุหรี่ - หลักการ 4As - กฏหมายเกี่ยวกับการควบคุมการสูบบุหรี่ ส่งให้ทันตแพทย์ที่สนใจและคลินิก 1,000 แห่ง

  28. สื่อสนับสนุนโครงการ

  29. คู่มือสนับสนุนผู้ปฏิบัติงานคู่มือสนับสนุนผู้ปฏิบัติงาน

  30. โครงการปัจจุบันของกองทันตสาธารณสุขโครงการปัจจุบันของกองทันตสาธารณสุข • ร่วมมือกับทันตแพทยสภา ทำโครงการบทบาทวิชาชีพทันตแพทย์กับการควบคุมยาสูบ • เครือข่ายทันตบุคลากรเพื่อการไม่สูบบุหรี่ • จัดทำคู่มือการดำเนินงานสำหรับทันตบุคลากร และสนับสนุนสื่อ • สำรวจการบริโภคยาสูบในทันตบุคลากร ทันตแพทย์ 2 ครั้ง 2540 2547 ทันตาภิบาล 1 ครั้ง 2548

  31. บทบาทต่อไปของทันตบุคลากรบทบาทต่อไปของทันตบุคลากร • เข้าร่วมกิจกรรมวันงดบุหรี่โลก 31พฤษภาคม 2549 • ให้การช่วยผู้ต้องการเลิกบุหรี่ในคลินิกทันตกรรม • สนับสนุนนโยบายสาธารณะเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบในชุมชน • สนับสนุนให้เกิดกิจกรรมรณรงค์ในกลุ่มเสี่ยง เช่นโรงเรียน โรงงาน • จัดอบรมบุคลากรที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ให้มีความรู้ในการควบคุมยาสูบ

  32. กิจกรรมวันงดบุหรี่โลกกิจกรรมวันงดบุหรี่โลก • 31 พฤษภาคม49วันงดบุหรี่โลก • คำขวัญปีนี้ “ Tobacco: Deadly in any disguise ” “ ยาสูบทุกรูปแบบ เป็นอันตรายถึงชีวิต ” • ส่วนกลาง นิทรรศการที่มาบุญครองร่วมกับ กรมควบคุมโรค มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ เครือข่ายต่าง ๆ ฯลฯ

  33. การดำเนินงานช่วยผู้ต้องการเลิบุหรี่ในคลินิกทันตกรรมการดำเนินงานช่วยผู้ต้องการเลิบุหรี่ในคลินิกทันตกรรม • การเตรียมทีมงาน เตรียมสถานที่และสิ่งแวดล้อมให้ปลอดบุหรี่ • การช่วยเหลือผู้ต้องการเลิกบุหรี่ตามขั้นตอน 4As Ask ซักถามและบันทึกประวัติการสูบบุหรี่ Advise แนะนำและชักจูงใจให้ผู้ป่วยต้องการเลิกบุหรี่ Assist ให้การช่วยเหลือผู้ต้องการเลิกบุหรี่ทุกคน Arrange การติดตาม และช่วยเหลือผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง

  34. ความสำเร็จของทันตบุคลากรความสำเร็จของทันตบุคลากร • การทำ Meta-analysis โดย U.S.Department of Health and Human Services พบว่าทันตแพทย์สามารถช่วยผู้ป่วยเลิกบุหรี่ได้ดีเท่ากับบุคลากรทางการแพทย์อื่น เช่น แพทย์ และพยาบาล • การให้ผู้สูบบุหรี่รับรู้ถึงสภาพปัญหาในช่องปาก การให้คำแนะนำแบบตัวต่อตัว การใช้สารทดแทนนิโคติน การติดตามผู้ป่วย และการนัดหมายอย่างต่อเนื่อง ล้วนมีผลต่อการควบคุมการบริโภคยาสูบของผู้ป่วย • การศึกษาในคลินิกทันตกรรม รพ.ธัญญารักษ์ พ.ศ.2544 สามารถช่วยผู้สมัครใจเลิกบุหรี่ได้สำเร็จนาน 6 เดือนขึ้นไป ถึงร้อยละ 33.3

  35. นโยบายสาธารณะเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบพรบ.คุ้มครองผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ.2535 • ห้ามสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ ผู้ฝ่าฝืนปรับไม่เกิน 2,000 บาท • เจ้าของสถานที่ เช่น ห้างสรรพสินค้า ร้านอาหาร ร้านตัดผม ไม่จัดให้เป็นที่ปลอดบุหรี่ ปรับไม่เกิน 20,000บาท

  36. นโยบายสาธารณะเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบพรบ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบนโยบายสาธารณะเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบพรบ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ • ห้ามโฆษณาผลิตภัณฑ์ยาสูบทุกรูปแบบ ( รวมถึงการโชว์สินค้าที่สะดุดตา ) • ห้ามเผยแพร่ แจกแถมตัวอย่างผลิตภัณฑ์หรือส่งเสริมการขายทุกรูปแบบ • ห้ามจำหน่ายบุหรี่ปลีกเป็นมวน หรือบุหรี่ซองเล็กที่มี <20 มวน • ห้ามจำหน่ายบุหรี่ให้ผู้อายุต่ำกว่า 18 ปี

  37. รูปแบบการสนับสนุนจากกรมอนามัยรูปแบบการสนับสนุนจากกรมอนามัย • การฝึกอบรม • การจัดทำคู่มือปฏิบัติงาน • การจัดประชุมวิชาการ • สนับสนุนงบประมาณในการวิจัย • สนับสนุนสื่อ

  38. อากาศสดใส ไร้ควันบุหรี่

More Related