170 likes | 430 Views
โครงการวิจัยมหาวิทยาลัย รุ่น 3. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เรื่องพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของนักศึกษา มจธ. ด้านจิตใจ โดย นางโสรยา ศรีวงศ์พรธนา. หัวข้อการวิจัย พฤติกรรมที่พึงประสงค์ ด้านจิตใจของนักศึกษา มจธ. Champion : ดร.กฤษณพงศ์ กีรติกร
E N D
โครงการวิจัยมหาวิทยาลัย รุ่น 3 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เรื่องพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของนักศึกษา มจธ. ด้านจิตใจ โดย นางโสรยา ศรีวงศ์พรธนา
หัวข้อการวิจัย พฤติกรรมที่พึงประสงค์ ด้านจิตใจของนักศึกษา มจธ. Champion : ดร.กฤษณพงศ์ กีรติกร : อ. นิธิ บูรณะจันทร์ อาจารย์ที่ปรึกษา : ดร. ปรีชา เติมสุขสวัสดิ์ : ดร.อุษณีษ์ คำพูล นักวิจัย : นางโสรยา ศรีวงศ์พรธนา
ความสำคัญของโครงการ • ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติปีการศึกษา 2542ได้กำหนด ความมุ่งหมายและหลักการจัดการศึกษา ต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทย ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ สติปัญญา ความรู้ และ คุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิตสมารถอยู่กับผู้อื่น ได้อย่างมีความสุข(มาตรา 6) และแนวการจัดการศึกษาได้ให้ความสำคัญ กับผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่า ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มศักยภาพ (มาตรา 22 )
จากวิสัยทัศน์ มจธ.มีปณิธานในการสร้างบัณฑิตให้เก่งและดี ได้รับการปลูกฝังให้ยึดมั่นในจริยธรรมและคุณธรรม มีจิตสำนึกที่จะ ปฏิบัติในสิ่งที่ดีมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ มีวินัย รู้จักหน้าที่ความ รับผิดชอบรวมทั้งการประพฤติตนที่เหมาะสมของนักศึกษา ซึ่งจะ นำมาซึ่งชื่อเสียงและเกียรติภูมิและความภาคภูมิใจของทุกคนใน มจธ. จากมูลเหตุดังกล่าว ผู้วิจัยในฐานะที่เป็นพนักงานสาย สนับสนุนของมหาวิทยาลัยและมีหน้าที่ ในการดูแลสุขภาพของ นักศึกษาทั้งทางด้าน ร่างกายและจิตใจ มีความสนใจที่จะศึกษาถึง พฤติกรรมที่พึงประสงค์ด้านจิตใจของนักศึกษา มจธ. ทั้งนี้เพื่อเป็น ประโยชน์และแนวทางในการกำหนด วิธีการกลยุทธที่สอดคล้อง และเหมาะสมในการส่งเสริม สนับสนุนให้พฤติกรรมอันพึงประสงค์ ด้านจิตใจของนักศึกษา มจธ. ให้คงอยู่และปรับปรุงให้ดีขึ้นต่อไป
Business Metric • พฤติกรรมอันพึงประสงค์ด้านจิตใจที่เอื้อต่อการพัฒนา นักศึกษา มจธ. Project Metric • พฤติกรรมอันพึงประสงค์ด้านจิตใจที่นักศึกษา มจธ.พึงมี
Theme >พฤติกรรมอันพึงประสงค์ทางจิตใจของนักศึกษา มจธ.ด้านความฉลาดทางอารมณ์(EQ) KPOV >หลักเกณฑ์พฤติกรรมอันพึงประสงค์ทางจิตใจ ของนักศึกษา มจธ.
กระบวนการ -กระบวนการเรียน การสอน -กระบวนการ พัฒนานักศึกษา ผู้รับนักศึกษา -คณะ - ภาควิชา • ผู้ส่งมอบ -มจธ. -สถาบันการ ศึกษา -ผู้ปกครอง ผลผลิต -นักศึกษาที่มี พฤติกรรมที่ พึงประสงค์ • ปัจจัยนำเข้า • -นโยบาย มจธ. • -หลักเกณฑ์การ • รับนักศึกษา • -นักเรียน Sipoc Model พฤติกรรมที่พึงประสงค์ของนักศึกษา มจธ.ด้านจิตใจ
ฝ่ายวิชาการ - หลักสูตร - การเรียนการสอน สังคมที่ นักศึกษา มีความ สัมพันธ์ด้วย นักศึกษาที่มี พฤติกรรมที่ พึงประสงค์ นักศึกษา ฝ่ายพัฒนานักศึกษา กิจกรรมนักศึกษา บริการนักศึกษา งานพยาบาล พฤติกรรมที่พึงประสงค์ของนักศึกษา มจธ.ด้านจิตใจ Macro map (กระบวนการผลิตบัณฑิต)
การเรียน การสอน -คณะกรรมการ พัฒนานักศึกษา -งานพยาบาล กำหนดแผนกลยุทธ์/ โครงการพัฒนานักศึกษา/ งานพยาบาล การส่งเสริม สุขภาพจิต นักศึกษา กิจกรรม นักศึกษา พฤติกรรมที่พึงประสงค์ของนักศึกษา มจธ.ด้านจิตใจ Micro map(กระบวนการพัฒนานักศึกษา)
วัตถุประสงค์ของการวิจัยวัตถุประสงค์ของการวิจัย •เพื่อศึกษาถึงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ด้านจิตใจของนักศึกษา มจธ. •เพื่อศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมการแสดงออกด้านจิตใจของนักศึกษา มจธ.ที่แสดงออกต่อผู้อื่น ตามความคิดเห็นของนักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ฝ่ายกิจกรรมนักศึกษา และผู้ปกครอง • เพื่อประเมินความสุขด้านสภาพจิตใจของนักศึกษา มจธ.
ความสำคัญของการวิจัย 1.ทำให้ทราบถึงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ด้านจิตใจของนักศึกษา มจธ. 2. ทำให้ทราบความคิดเห็นพฤติกรรมการแสดงออกด้านจิตใจของนักศึกษา มจธ ที่แสดงออกต่อผู้อื่น ตามความคิดเห็น อาจารย์ที่ปรึกษาอาจารย์ฝ่ายกิจกรรม นักศึกษา และผู้ปกครอง 3.ทำให้ทราบถึงความเฉลียวฉลาดด้านอารมณ์ของนักศึกษา มจธ. 4.เพื่อมหาวิทยาลัยจะได้ใช้ผลการวิจัยเป็นแนวทางในการปรับปรุงหลักสูตร ระเบียบวินัย การเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของ นักศึกษา ซึ่งจะเป็นการช่วยลดปัญหาต่างๆ 5. เพื่อให้ผู้ปกครองได้ใช้เป็นแนวทางในการอบรมสั่งสอน ในการพัฒนา เยาวชนให้มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ร่วมกับทางมหาวิทยาลัย
ขอบเขตการวิจัย 1.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เป็นนักศึกษา มจธ.ปีการศึกษา 2547 หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี และหลักสูตรปริญญาตรี เทียบโอน 2ปีและ 3ปี คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะครุศาสตร์ อุตสาหกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศ รวม 3 คณะๆละ 200 รวม 600คน 2.อาจารย์ที่ปรึกษาจำนวน 150 คน อาจารย์ดูแลฝ่ายกิจกรรมนักศึกษา จำนวน 150 คนและผู้ปกครองจำนวน 150 คน รวม 450 คน
ขอบเขตการวิจัย(ต่อ) 3.ตัวแปรที่วิจัยในครั้งนี้ 3.1 ตัวแปรต้น หน้าที่ของอาจารย์ จำแนกได้ดังนี้ 1) อาจารย์ที่ปรึกษา 2) อาจารย์ดูแลฝ่ายกิจกรรมนักศึกษา 3) ผู้ปกครอง 3.2 ตัวแปรตาม ได้แก่พฤติกรรมที่พึงประสงค์ของนักศึกษา
นิยามศัพท์เฉพาะ • พฤติกรรม หมายถึงความประพฤติ การแสดงออกทางกาย วาจา ใจ • พฤติกรรมที่พึงประสงค์ หมายถึงพฤติกรรมต่างๆที่บุคคลประพฤติ โดยได้รับการเห็นด้วยและเป็นที่ยอมรับของสังคมนั้นๆ • พฤติกรรมที่พึงประสงค์ด้านจิตใจ หมายถึงพฤติกรรมการแสดงออกด้าน จิตใจ อารมณ์