60 likes | 140 Views
กลุ่มที่ 1 ศูนย์สารสนเทศด้านสาธารณสุขและสุขภาพ. 1. รองรับการเป็นสำนักบริหารยุทธศาสตร์ ( OSM) เห็นด้วย เพราะ มีความเข้มแข็งสามารถชี้นำทิศทาง นโยบายและเป็นคลังสมองของ กสธ. สนย. ต้องเป็นผู้นำ ชี้นำ ให้ข้อเสนอแนะแผนยุทธศาสตร์ทั่วบทบาทหลัก/พึงประสงค์/บูรณาการ ขาดบุคลากรที่เข้มแข็ง
E N D
กลุ่มที่ 1 ศูนย์สารสนเทศด้านสาธารณสุขและสุขภาพ 1. รองรับการเป็นสำนักบริหารยุทธศาสตร์ (OSM) เห็นด้วย เพราะ • มีความเข้มแข็งสามารถชี้นำทิศทาง นโยบายและเป็นคลังสมองของ กสธ. • สนย. ต้องเป็นผู้นำ ชี้นำ ให้ข้อเสนอแนะแผนยุทธศาสตร์ทั่วบทบาทหลัก/พึงประสงค์/บูรณาการ • ขาดบุคลากรที่เข้มแข็ง 2. ลดความซ้ำซ้อนของบทบาทหน้าที่ เห็นด้วย เพราะ • เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า 3. เอื้ออำนวยให้เกิดการมีส่วนร่วมของภาคีหุ้นส่วนภาคประชาสังคมตลอดจนภูมิภาค เห็นด้วย เพราะ • เรื่องของนโยบายและยุทธศาสตร์ ต้องเปิดให้การมีส่วนร่วมเพื่อเกิดการยอมรับสามารถนำสู่การปฏิบัติและบรรลุเป้าหมายตามความเหมาะสม 4. บูรณาการการแปลงยุทธศาสตร์สู่พลังทวีคูณในทางปฏิบัติระหว่าง agenda/function/area โดยยึดหลักความคุ้มค่า เห็นด้วย เพราะ • เพื่อทำให้เกิดการทำงานที่มีพลังและเป็นรูปธรรมทุกภาคส่วน
กลุ่มที่ 2 อำนวยการและประสานระดับนโยบาย 1. รองรับการเป็นสำนักบริหารยุทธศาสตร์ (OSM) เห็นด้วย เพราะ • ยกระดับการทำงานของกลุ่มอำนวยการปัจจุบันให้มี 2. ลดความซ้ำซ้อนของบทบาทหน้าที่ เห็นด้วย เพราะ • รวมการทำงานที่มีลักษณะคล้ายๆ กันไว้ด้วยกันและเอื้อเสริมกัน 3. เอื้ออำนวยให้เกิดการมีส่วนร่วมของภาคีหุ้นส่วนภาคประชาสังคมตลอดจนภูมิภาค เห็นด้วย 4. บูรณาการการแปลงยุทธศาสตร์สู่พลังทวีคูณในทางปฏิบัติระหว่าง agenda/function/area โดยยึดหลักความคุ้มค่า เห็นด้วย
กลุ่มที่ 3 วิจัย-พัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ 1. รองรับการเป็นสำนักบริหารยุทธศาสตร์ (OSM) เห็นด้วย เพราะ • สอดคล้องกับบทบาทเดิม • เสริมพลังในการทำงานเข้มแข็งมากขึ้น 2.ลดความซ้ำซ้อนของบทบาทหน้าที่ เห็นด้วย เพราะ • มีความซ้ำซ้อนการทำงานจริง 3.เอื้ออำนวยให้เกิดการมีส่วนร่วมของภาคีหุ้นส่วนภาคประชาสังคมตลอดจนภูมิภาค เห็นด้วย เพราะ • องค์กร สนย. มีส่วนร่วมกับภาคีแต่ยังขาดการมีส่วนร่วมกับภาคีภาคประชาชน สังคม 4. บูรณาการการแปลงยุทธศาสตร์สู่พลังทวีคูณในทางปฏิบัติระหว่าง agenda/function/area โดยยึดหลักความคุ้มค่า เห็นด้วย เพราะ • แต่ก็ยังมีอุปสรรคเพราแต่ละองค์กรต่างก็มีเอกภาพของตนเอง
กลุ่มที่ 4 สื่อสาร-บูรณาการนโยบายและยุทธศาสตร์ 1. รองรับการเป็นสำนักบริหารยุทธศาสตร์ (OSM) เห็นด้วย เพราะ • ภารกิจ สนย. ปัจจุบัน ตรงกับ OSM อยู่แล้วเพียงแต่ต้องปรับศักยภาพเพิ่มให้เป็น OSM เต็มรูปแบบ 2. ลดความซ้ำซ้อนของบทบาทหน้าที่ เห็นด้วย เพราะ • ประสิทธิภาพในการทำงานดีขึ้นอำนวยความสะดวกลูกค้าได้ดีกว่า 3. เอื้ออำนวยให้เกิดการมีส่วนร่วมของภาคีหุ้นส่วนภาคประชาสังคมตลอดจนภูมิภาค เห็นด้วย เพราะ • หลักธรรมาภิบาล • เพิ่มจากเดิมเป็นทุกขั้นตอนกระบวนการให้ภาคีมีส่วนร่วมโดยเฉพาะขั้นตอนนำแผนสู่การปฏิบัติ 4. บูรณาการการแปลงยุทธศาสตร์สู่พลังทวีคูณในทางปฏิบัติระหว่าง agenda/function/area โดยยึดหลักความคุ้มค่า เห็นด้วย เพราะ • ทำอยู่แล้วที่ควรเป็นให้เข้มข้นขึ้น
ความเห็นเพิ่มเติม • ใครจะเป็นผู้มีอำนาจในการตัดสินใจ และผลักดันโครงสร้างใหม่ • วิธีการสรรหาผู้บริหาร (ผู้อำนวยการ) จะใช้วิธีใด
กลุ่มที่ 5 วัด-ประเมินผลนโยบายและยุทธศาสตร์ 1. รองรับการเป็นสำนักบริหารยุทธศาสตร์ (OSM) เห็นด้วย เพราะ • เป็นการปรับศักยภาพตนเองให้สอดคล้องกับบริบทของสังคมเศรษฐกิจการเมือง การปกครอง 2. ลดความซ้ำซ้อนของบทบาทหน้าที่ เห็นด้วย เพราะ • เป็น FACT มี Fragmentation ในการทำงานขาดการมองเป้าประสงค์ในภาพรวม 3. เอื้ออำนวยให้เกิดการมีส่วนร่วมของภาคีหุ้นส่วนภาคประชาสังคมตลอดจนภูมิภาค เห็นด้วย เพราะ • จะทำให้เกิดการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสำนึกรับผิดชอบ ส่วนร่วม โปร่งใสของภาคีหุ้นส่วนส่งผลให้เกิดความยั่งยืน 4. บูรณาการการแปลงยุทธศาสตร์สู่พลังทวีคูณในทางปฏิบัติระหว่าง agenda/function/area โดยยึดหลักความคุ้มค่า เห็นด้วย เพราะ • หลักการดีโดยที่แนวทางการปฏิบัติควรประนีประนอมเพื่อไม่ให้เกิดความขัดแย้ง