1 / 45

ความจำเป็นในการดูแลผู้สูงอายุ

ความจำเป็นในการดูแลผู้สูงอายุ. นพ.สมชายโชติ ปิย วัชร์ เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี 2 มิถุนายน 2557. หากพูดถึงผู้สูงอายุเรานึกถึงอะไร ???. หงอก/ ป่วย / ลืม / พร่อง เหี่ยว /หูตึง/ตามัว Sex เสื่อม. นพ.สมชายโชติ ปิย วัชร์ เวลา

Download Presentation

ความจำเป็นในการดูแลผู้สูงอายุ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความจำเป็นในการดูแลผู้สูงอายุความจำเป็นในการดูแลผู้สูงอายุ นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี 2 มิถุนายน 2557

  2. หากพูดถึงผู้สูงอายุเรานึกถึงอะไร???หากพูดถึงผู้สูงอายุเรานึกถึงอะไร??? หงอก/ ป่วย / ลืม / พร่อง เหี่ยว /หูตึง/ตามัว Sex เสื่อม นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน 2557

  3. สถานการณ์ผู้สูงอายุในประเทศไทยสถานการณ์ผู้สูงอายุในประเทศไทย • กำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ Aging Society 10% • สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์แบบ Aged Society 20% • สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด Super Aged Society 30% นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน 2557

  4. สถานการณ์ประชากรไทย 1. ประชากรโลกในปัจจุบันและอนาคตจะเป็นโลกของผู้สูงอายุเนื่องจากประชากรโลกจะมีอายุยืนยาวขึ้น และมีอัตราการเกิดลดน้อยลง ทำให้จำนวนของผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว 2.ปัจจุบันทั่วโลกพบว่ามีผู้สูงอายุประมาณ 600 ล้านคน (ผู้สูงอายุหมายถึงบุคคลที่มีอายุตั้งแต่60 ปีบริบูรณ์หรือมากกว่า)แต่ในปีค.ศ. 2025 จะเพิ่มขึ้นเป็น 1,200 ล้านคน และในปีค.ศ. 2050 จะเพิ่มเป็น 2,000 ล้านคน หมายความว่าผู้สูงอายุจะมีจำนวนมากกว่าเด็กและเยาวชนที่อายุน้อยกว่า 15 ปีในขณะที่สภาพปัญหาในอนาคตผู้สูงอายุ นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน

  5. สถานการณ์ประชากรไทย 3. ส่วนใหญ่จะอยู่ในประเทศที่กำลังพัฒนา ซึ่งมีแนวโน้มที่ จะขาดการเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับปัญหาการสูงอายุ ของประชากรในสังคม นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน

  6. ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน

  7. นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน

  8. นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน

  9. ประชากรไทยจะมีอายุสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว จนกลายเป็น “สังคมผู้สูงอายุ” = “เกิดน้อย อายุยืน” 1960;2503 นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน 2020;2563

  10. ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงประชากรผู้สูงอายุผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงประชากรผู้สูงอายุ 1.การเพิ่มภาระจากโรค ( 1 ใน 4 มีภาวะทุพพลภาพ) 2.ด้านบริการสุขภาพ (ป่วยนาน) 3.ภาระค่าใช้จ่าย (จ่ายสูง) 4.ผลต่อเศรษฐกิจ (ภาระสังคม) 5.การขยายของเขตเมือง (ความปลอดภัย/อุบัติเหตุ) 6.บริการทางสังคม (เพิ่มระบบ) 7.บทบาทของครอบครัว (ผู้ดูแล) นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน (ประคอง อินทรสมบัติ, 2549)

  11. ผู้สูงอายุไทยกับภาวะสุขภาพผู้สูงอายุไทยกับภาวะสุขภาพ • ความเจ็บป่วยและโรค • คนไทยร้อยละ 66.4 มีปัญหาสุขภาพ ร้อยละ 14.6 ต้องล้มหมอนนอนเสื่อ ผู้สูงอายุหญิงมีปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพมากกว่าเพศชาย การเจ็บป่วยมักเกิดจากการปฏิบัติตนไม่ถูกสุขลักษณะ ขาดการดูแลสุขภาพตนเอง ส่วนปัญหาสุขภาพจิตผู้สูงอายุหญิงมีปัญหามากกว่าเพศชาย เพราะส่วนใหญ่ผู้สูงอายุตนเองไร้ค่า ซึมเศร้า โดยกลุ่มโรคที่ป่วยมากที่สุดสามลำดับแรกคือ โรคระบบกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น กระดูกและข้อ โรคระบบทางเดินหายใจ และโรคหัวใจหลอดเลือด นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน

  12. นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน

  13. นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน

  14. สถานะสุขภาพผู้สูงอายุสถานะสุขภาพผู้สูงอายุ นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน การประเมินสุขภาพตนเอง โรคเรื้อรัง สุขภาพช่องปาก สมองเสื่อม

  15. พฤติกรรมเสี่ยง นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน การสูบบุหรี่ และดื่มสุรา เกือบ 1 ใน 4 ของผู้สูงอายุทั้งสิ้นสูบบุหรี่ โดยผู้สูงอายุชายมีสัดส่วนที่สูบบุหรี่สูงกว่าหญิงอย่างเห็นได้ชัด คือร้อยละ 43.3ขณะที่ผู้สูงอายุหญิงสูบบุหรี่เพียงร้อยละ 4.6เท่านั้น ผู้สูงอายุชายสูบบุหรี่เฉลี่ยวันละ 10 มวน ขณะที่ผู้สูงอายุหญิงสูบบุหรี่เฉลี่ยวันละ 6มวน ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่ดื่มสุรา มีผู้สูงอายุเกือบ 1 ใน 4 ยังคงดื่มสุรา โดยเป็นการดื่มนานๆ ครั้ง แต่มีผู้สูงอายุไม่น้อยที่ดื่มสุราทุกวัน ผู้สูงอายุชายดื่มสุราสูงกว่าหญิงคือร้อยละ 41.9ขณะที่ผู้สูงอายุหญิงมีสัดส่วนที่ดื่มสุราเพียงร้อยละ 8.6

  16. การขับขี่ยานพาหนะ • การขับขี่ยานพาหนะต่างๆ เป็นปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเสียชีวิต บาดเจ็บ และทุพพลภาพของผู้สูงอายุ ซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้ นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน

  17. การใช้เข็มขัดนิรภัย • ผู้สูงอายุยังคงเป็นผู้ขับหรือโดยสารรถยนต์ตอนหน้า(ร้อยละ 60.6) แต่ไม่เคยใช้เข็มขัดนิรภัยเลยสูงถึงร้อยละ 44.1และใช้ทุกครั้งเพียงร้อยละ 21.9 ผู้สูงอายุชายเป็นผู้ขับหรือโดยสารรถยนต์ตอนหน้าสูงกว่าหญิง แต่เกือบครึ่งของผู้สูงอายุหญิงไม่เคยใช้เข็มขัดนิรภัยเลย และใช้ทุกครั้งเพียงร้อยละ 18.9 ขณะที่ผู้สูงอายุชายไม่เคยใช้เข็มขัดนิรภัยเลยมีร้อยละ 38.7 และ 1 ใน 4 ใช้เข็มขัดนิรภัยทุกครั้ง นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน

  18. การสวมหมวกกันน็อก • กว่า 2 ใน 3 ของผู้สูงอายุขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์ แต่มากกว่าครึ่งไม่เคยสวมหมวกกันน็อกเลย มีเพียงร้อยละ 9.4 เท่านั้นที่สวมทุกครั้ง ผู้สูงอายุชายขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์สูงกว่าหญิง แต่ผู้สูงอายุหญิงไม่เคยสวมหมวกกันน็อกเลยสูงถึงร้อยละ 66.9 และมีเพียงร้อยละ 6.2 เท่านั้นที่สวมทุกครั้ง ขณะที่ผู้สูงอายุชายไม่เคยสวมหมวกกันน็อกเลยร้อยละ 47.4 และสวมทุกครั้งร้อยละ 12.7 นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน

  19. แนวคิดเกี่ยวกับผู้สูงอายุแนวคิดเกี่ยวกับผู้สูงอายุ • ทฤษฎีการสูงอายุ • กระบวนการชรา การเปลี่ยนแปลงในวัยสูงอายุ ร่างกาย จิตใจ สังคม นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน

  20. ทฤษฎีการสูงอายุ อธิบายกระบวนการชราของมนุษย์ให้ชัดเจนที่สุด ประกอบด้วยทฤษฎี 3 กลุ่ม • ทฤษฎีทางชีววิทยา(Biological Theory) ถึงการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของร่างกายมนุษย์ • ทฤษฎีทางจิตวิทยา (Psychological Theory) การเปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพ และพฤติกรรมของผู้สูงอายุ • ทฤษฎีทางสังคม (Sociological Theory) แนวโน้มบทบาท สัมพันธภาพ และการปรับตัวในสังคมของผู้สูงอายุ ซึ่งพยายามวิเคราะห์สาเหตุที่ทำให้ผู้สูงอายุต้องมีการเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางสังคมไป และพยายามที่จะช่วยให้ผู้สูงอายุมีการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน

  21. นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน 2557

  22. ผู้สูงอายุหมายถึง • ในประเทศไทย ผู้สูงอายุหมายถึง ผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป แต่ความชราหรือขบวนการความแก่ (Aging Process) เป็นขบวนการที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ต่างๆ ในร่างกายเริ่มตั้งแต่อยู่ ในครรภ์ จนเติบโตเป็นทารกและเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ ในช่วงเวลาเหล่านี้ เซลล์จะเปลี่ยนแปลงในทาง เสริมสร้าง ทำให้เจริญเติบโต เมื่อพ้นวัยผู้ใหญ่แล้ว จะมีผลการสลายของเซลล์มากกว่าสร้าง ทำให้ สมรรถภาพการทำงานของอวัยวะต่างๆ ลดลง การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะแตกต่างกันในแต่ละบุคคล นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน

  23. การแบ่งกลุ่มผู้สูงอายุสามารถแบ่งโดยใช้วัย (Chronological age) แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ (Living in an ageing world) ♦ Young -old คือ อายุระหว่าง 60 - 69 ปื ♦ Medium -old คือ อายุระหว่าง 70 - 79 ปื ♦ Old -old คือ อายุตั้งแต่ 80 ปีขึ้นไป นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน

  24. การแบ่งกลุ่มใช้เกณฑ์ความสามารถของผู้สูงอายุการแบ่งกลุ่มใช้เกณฑ์ความสามารถของผู้สูงอายุ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ • กลุ่มที่ช่วยเหลือตนเองได้ดี(well elder) • กลุ่มที่ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง (home bound elder) • กลุ่มที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ เนื่องจากมีปัญหาสุขภาพ มีความพิการ (bed bound elder) นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน

  25. ผู้สูงอายุกับการเปลี่ยนแปลงผู้สูงอายุกับการเปลี่ยนแปลง นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน

  26. ผู้สูงอายุกับการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยา และ จิตวิทยา โรคที่พบบ่อย ภาวะสมองเสื่อม นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน

  27. การเปลี่ยนแปลงทางด้านสรีรวิทยาของผู้สูงอายุการเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆ ของร่างกาย • ผิวหนัง จะบาง แห้ง เหี่ยวย่น • ต่อมเหงื่อ ลดน้อยลง การขับเหงื่อน้อยลง • ผมและขน ร่วง เปลี่ยนเป็นสีขาว • ระบบประสาทสัมผัส • ตาสายตาเปลี่ยน กล้ามเนื้อลูกตาเสื่อม- หู ประสาทรับเสียงเสื่อม- จมูกประสาทรับกลิ่นบกพร่อง- ลิ้นรู้รสน้อยลง นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน

  28. การเปลี่ยนแปลงทางด้านสรีรวิทยาของผู้สูงอายุการเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆ ของร่างกาย • ระบบทางเดินอาหาร ฟัน ต่อมน้ำลาย ประสาทกล้ามเนื้อที่ควบคุมการกลืน น้ำย่อยต่างๆ ตับและตับอ่อน การขับถ่าย • ระบบทางเดินหายใจ ปอดเสื่อมลง กล่องเสียงเสื่อม กล้ามเนื้อทรวงอกเสื่อม • ระบบหัวใจและหลอดเลือด กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนกำลัง หลอดเลือดแข็งตัว ความดันโลหิตจะสูงขึ้น ไขมันเกาะผนังหลอดเลือดหนาขึ้น นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน

  29. การเปลี่ยนแปลงทางด้านสรีรวิทยาของผู้สูงอายุการเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆ ของร่างกาย • ระบบทางเดินปัสสาวะ ไต กระเพาะปัสสาวะ กล้ามเนื้อหูรูด ต่อมลูกหมาก • ระบบประสาทและสมอง ความรู้สึก การเคลื่อนไหว ความสัมพันธ์ การทรงตัว อาการสั่น หลงลืมง่าย • ฮอร์โมน ฮอร์โมนเพศเอสโตรเจน แอนโดรเจน พาราธัยรอยด์ นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน

  30. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมการเปลี่ยนแปลงทางสังคม • การเปลี่ยนแปลงทางด้านสถานภาพและบทบาททางสังคม เช่น ผู้ที่เคยทำงานเมื่ออายุครบ 60 ปี ต้องออกจากงาน การสูญเสียบทบาทในการเป็นผู้นำครอบครัว • การถูกทอดทิ้ง มีการย้ายถิ่นเพื่อมาหางานทำ ลูกหลานไปทำงานนอกบ้านไม่มีเวลาเอาใจใส่ทำให้ผู้สูงอายุมีปัญหาซึมเศร้า • การเสื่อมความเคารพ คนส่วนใหญ่มักมองว่าผู้สูงอายุมีความสามารถน้อยลง และคิดว่าผู้สูงอายุไม่ทันต่อเหตุการณ์ นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน

  31. แนวคิดในการจัดบริการ คือ มุ่งให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพทีดี ทั้งกายและจิตมีครอบครัวและสังคมที่ดีอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม ได้รับสวัสดิการและการบริการที่เหมาะสม อยู่อย่างมีคุณค่ามีศักดิ์ศรี พึ่งตนเองได้และมีส่วนร่วม โดยที่ครอบครัวและชุมชนเป็นสถาบันหลักในการเกื้อหนุน ผู้สูงอายุ รัฐบาลและหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องส่งเสริมสนับสนุนให้ครอบครัวและชุมชนมีศักยภาพในการจัดบริการสุขภาพและสังคมที่เหมาะสม นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน

  32. แนวทางการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับผู้สูงอายุ แบ่งเป็น 3 ระดับ 1.การป้องกันโรคในระดับปฐมภูมิ (Primary prevention) หมายถึงการป้องกันโรคโดยส่งเสริมสุขภาพให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพดีตามอัตภาพ โดยคงระยะเวลาที่มีสุขภาพทางกาย สุขภาพจิต สุขภาวะทางสังคมและสุขภาวะทางจิตวิญญาณให้ยาวนานที่สุด โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตั้งแต่ยังไม่มีโรค นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน

  33. แนวทางการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับผู้สูงอายุ(ต่อ)แนวทางการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับผู้สูงอายุ(ต่อ) 2.การป้องกันโรคในระดับทุติยภูมิ(Secondary prevention)หมายถึงการป้องกันโรคที่เกิดขึ้นแล้ว แต่ป้องกันไม่ให้พยาธิสภาพลุกลาม ด้วยการตรวจคัดกรองสุขภาพเป็นระยะเพื่อตรวจหาโรคและให้การรักษาโรคตั้งแต่ในระยะแรก 3.การป้องกันโรคในระดับตติยภูมิ(Tertiary prevention)หมายถึง การป้องกันภาวะแทรกซ้อน การป้องกันการเกิดโรคซ้ำ ตลอดจนการป้องกันความพิการ ภาวะทุพพลภาพในระยะยาว ที่อาจเกิดภายหลัง นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน

  34. แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2557 เป้าประสงค์ 1.ผู้สูงอายุได้รับการดูแลส่งเสริมป้องกัน และคัดกรองสุขภาพ 2.มีระบบบริการสุขภาพผู้สูงอายุ ที่มีศักยภาพ และเข้าถึงได้ 3.มีการดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโดยชุมชนและท้องถิ่น องค์ประกอบ 1.คัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 2.ระบบการดูแลผู้สูงอายุ ในสถานพยาบาล 3.การดูแลผู้สูงอายุระยะยาวโดยชุมชนและท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ วิธีดำเนินงาน 1.ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพ 2.พัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้สูงอายุ 3.พัฒนาต้นแบบการดูแลโดยชุมชน ท้องถิ่น 1.คัดกรองปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุ 2.ระบบส่งต่อ/ดูแลต่อเนื่อง 3.ใช้กลไก Aging Manager นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน

  35. ระบบบริการผู้สูงอายุในสถานบริการ(โรงพยาบาล)ระบบบริการผู้สูงอายุในสถานบริการ(โรงพยาบาล) OPD ช่องทางด่วนผู้สูงอายุ 70 ปีไม่มีคิว • คลินิกผู้สูงอายุ • ประเมินมาตรฐานสุขภาพอนามัย • คัดกรองสุขภาพจิต • ADL • อาหาร/ออกกำลังกาย • ภาวะ Geriatric Syndromeฯลฯ • (ตามคู่มือการคัดกรอง/ประเมินผู้สูงอายุปี2557) • ซักประวัติ • ผู้ป่วยเก่า • ผู้ป่วยใหม่ คลินิกเฉพาะโรค/คลินิกโรคทั่วไปDM/HT StrokeHeartAsthma ฯลฯ - จนท.คลินิก ผสอ. LAB/X-RAY ตรวจพิเศษต่างๆ • Admitted(IPD) • กลับบ้าน รับยา

  36. ระบบบริการงานผู้สูงอายุในหอผู้ป่วยระบบบริการงานผู้สูงอายุในหอผู้ป่วย Intermediates Care IPD (WRAD) • วางแผนการจำหน่ายผู้ป่วย • ระบบส่งต่อ(Referral system) • ระบบส่งต่อข้อมูล(Refer Link) • Home Health Care ( HHC ) • Continuing of Care (COC) รพช. รพ.สต. รักษาตามรายโรค ประเมินผู้สูงอายุเฉพาะโรค (มีแบบประเมินผู้สูงอายุเฉพาะโรค) วิเคราะห์สภาพผู้ป่วยและรายงานผลการประเมิน อาการแอบแฝงแพทย์

  37. รพช. Intermediates Care รพ.สต. • กรณีมีญาติ • Care giver(ผู้ดูแลในครอบครัว) • ดูแลต่อเนื่องโดย สหวิชาชีพ(COC) • Home Health Care ( HHC ) • กรณีไม่มีญาติ • ศูนย์ DAY CARE • Nursing Home • -อปท. เป็นผู้ดูแล • เรื่องสถานที่ ,งบประมาณ, • การดำเนินงาน • กรณีไม่มีบ้าน • ประสานบ้านพักคนชรา • บ้านสงเคราะห์คนชรา รพศ./รพท./รพช.

  38. Long Term Care Long Term Care • ติดตามโดย จนท.อสม./อสผ. • ดูแลต่อเนื่องทีมสหวิชาชีพ (COC) • ประเมินสภาวะสุขภาพอนามัย ADL • ฟื้นฟูสมรรถภาพ/กายภาพบำบัด • ส่งเสริมสุขภาพกาย/สุขภาพจิต • Home Health Care ( HHC ) รพศ./รพท. ระบบปฐมภูมิ/ รพ.สต. ระบบส่งต่อ (Referral system)

  39. สถานดูแลผู้สูงอายุ รพช./รพ.สต จัดบริการ ส่งเสริมสุขภาพ ฟื้นฟู อปท. เป็นเจ้าภาพหลัก ด้านสังคม จัดตั้งศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ กรมพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ศูนย์ DAY CARE Nursing Home Care giver

  40. พยาบาลผู้สูงอายุ (Gerontologicalnurse) 1.มีความสามารถในการประเมินภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ 2.มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ในการจัดโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ 3.มีความสามารถในการสอนผู้สูงอายุและครอบครัว 4.มีความสังเกตดี สามารถแปลความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุ แม้เพียงเล็กน้อยได้ 5. มีเจตคติที่ดีต่อผู้สูงอายุ นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน

  41. วิทยากร ครู ก (หลังจบการอบรม) ด้านการปฏิบัติมีความสามารถ • 1.มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการจัดการเรียนการสอน • แก่ผู้เข้ารับการอบรมตามหลักสูตรพนักงานดูแลผู้สูงอายุ 70 ชั่วโมง • 2.สามารถวิเคราะห์ปัญหาของผู้สูงอายุ และวางแผนการดูแล ช่วยเหลือผู้สูงอายุ • รายบุคคลได้ • 3.สามารถประเมินและคัดเลือกผู้เข้ารับการอบรมตาม คุณสมบัติที่กำหนดในหลักสูตรได้ • 4.สามารถควบคุม กำกับ ติดตาม ประเมินผล และตรวจสอบการปฏิบัติงาน • ของพนักงานดูแลผู้สูงอายุตามหลักสูตร 70 ชั่วโมง คู่มือการคัดกรอง/ประเมินผู้สูงอายุ ปี 2557 นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน ไฟล์เอกสาร ดาวน์โหลดที่เวปไซด์ www.agingthai.org

  42. ดำเนินการจัดทำโครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุดำเนินการจัดทำโครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน

  43. องค์ประกอบการดำเนินงานตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวองค์ประกอบการดำเนินงานตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว 1.ข้อมูลผู้สูงอายุตามกลุ่มศักยภาพตามความสามารถในการประกอบ กิจวัตรประจำวัน(Barthel Activities of Daily Living : ADL 2.มีชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ 3.มีอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุในชุมชน 4.มีบริการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านที่มีคุณภาพ(Home Health Care) 5.มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับตำบล 6.มีระบบการดูแลผู้สูงอายุ กลุ่มที่2(ติดบ้าน)และกลุ่มที่3(ติดเตียง) 7.มีวัดส่งเสริมสุขภาพผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐานขึ้นไปไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 8.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน

  44. สวัสดี นพ.สมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 2 มิถุนายน 2557

More Related