1k likes | 1.24k Views
การแก้ไขความยากจน. กระทรวงแรงงาน. พ.ศ. 2548 - 2551. ความเป็นมา. ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี (พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร) แถลงนโยบายต่อรัฐสภาเมื่อ 26 ก.พ. 2544 กำหนดนโยบายเร่งด่วน เพื่อแก้ไขปัญหาของชาติที่สำคัญ 3 เรื่อง คือ ปัญหายาเสพติด / ปัญหาคอรัปชั่น / ปัญหาความยากจน. กระทรวงมหาดไทย
E N D
การแก้ไขความยากจน กระทรวงแรงงาน พ.ศ. 2548 - 2551
ความเป็นมา ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี (พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร) แถลงนโยบายต่อรัฐสภาเมื่อ 26 ก.พ. 2544 กำหนดนโยบายเร่งด่วน เพื่อแก้ไขปัญหาของชาติที่สำคัญ 3 เรื่อง คือ ปัญหายาเสพติด / ปัญหาคอรัปชั่น / ปัญหาความยากจน กระทรวงมหาดไทย รับจดทะเบียนประชาชนที่ประสบปัญหาสังคมและความยากจน (สย. 1-8) 8,258,435 คน 6,456,824 ครัวเรือน 12,198,509 ปัญหา รวม 374,077 คน เร่ร่อน 2,066 คน ผิดกฎหมาย 9,657 คน หลอกลวง 5,655 คน นักเรียน 249,711 คน หนี้สิน 106,988 คน
นโยบายรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2548- 2551 ครม. อนุมัติ ๑๒ เม.ย. ๒๕๔๘ 1. การขจัดความยากจน 2. การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ 3. การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและแข่งขันได้ 4. การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5. การต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ 6. การพัฒนากฎหมายและส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 7. การส่งเสริมประชาธิปไตยและกระบวนการประชาสังคม 8. การรักษาความมั่นคงของรัฐ 40 ยุทธศาสตร์รอง 236 กลยุทธ์หลัก
นโยบายรัฐบาล แถลงต่อสภาฯ ๒๓ มี.ค. ๒๕๔๘ ยุทธศาสตร์งบประมาณ (ปี 2549) แผนการบริหาร ราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2548-2551 แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี 2548-2551 และ แผนปฏิบัติราชการประจำปี ครม. อนุมัติ / ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ๑๒ เม.ย. ๒๕๔๘
แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี กระทรวงแรงงาน 01-01-005 , 01-03-012 , 02-04-019 , 02-08-036 , 08-40-234 , 08-40-236 ประเด็นยุทธศาสตร์กระทรวงแรงงาน ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ 1. การขยายโอกาสและเพิ่มทางเลือกในการ ประกอบอาชีพและการมีงานทำ เพื่อขจัด ความ ยากจน 1. การขจัดความยากจน 2. การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ 2. การคุ้มครองทางสังคมให้แรงงานมี หลักประกันที่เหมาะสม 3. การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุล และแข่งขันได้ 3. การเสริมสร้างและดำเนินการพัฒนา ศักยภาพแรงงาน 5. การต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ 4. การจัดระบบการบริหารจัดการแรงงาน ต่างด้าว 6. การพัฒนากฎหมายและส่งเสริมการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 5. การพัฒนาระบบบริหารจัดการด้าน แรงงานขององค์กรให้มีประสิทธิภาพ 8. การรักษาความมั่งคงของรัฐ
นโยบายรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2548- 2551 ครม. อนุมัติ ๑๒ เม.ย. ๒๕๔๘ การขจัดความยากจน รอง นรม. (เจ้าภาพยุทธฯ) ศตจ.มท. (เจ้าภาพหลัก) • ระดับประเทศ 6 กลยุทธ์หลัก. • ระดับชุมชน 5กลยุทธ์หลัก. • ระดับบุคคล 4 กลยุทธ์หลัก.
นโยบายรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2548- 2551 ครม. อนุมัติ ๑๒ เม.ย. ๒๕๔๘ การขจัดความยากจน รอง นรม. (เจ้าภาพยุทธฯ) ศตจ.มท. (เจ้าภาพหลัก) • ระดับประเทศ 6 กลยุทธ์หลัก. ๕. สร้างระบบคุ้มครองทางสังคม โดยขยายขอบเขตการประกันสังคม ให้ครอบคลุมแรงงานนอกระบบและแรงงานภาคเกษตร รวมทั้ง ส่งเสริมการระดมเงินออมเพื่อสวัสดิการของชุมชน (มท. พม. กษ. กค. สศช.)
นโยบายรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2548- 2551 ครม. อนุมัติ ๑๒ เม.ย. ๒๕๔๘ การขจัดความยากจน รอง นรม. (เจ้าภาพยุทธฯ) ศตจ.มท. (เจ้าภาพหลัก) ค. ระดับบุคคล 4 กลยุทธ์หลัก ๑. จัดคาราวานแก้จนที่ให้บริการและคำแนะนำ เพื่อสร้างโอกาสและทางเลือกในการประกอบอาชีพและเสริมสร้างทักษะต่างๆ รวมถึงการศึกษาและสาธารณสุข (มท./รง.: ทุกกระทรวง กษ. สธ. วช. ธ.ออมสิน ธพว.)
อนุกรรมการแก้ไขปัญหาความยากจนอนุกรรมการแก้ไขปัญหาความยากจน ๑. คณะอนุกรรมการจัดที่ดิน ที่ทำกิน เอกสารสิทธิ และที่อยู่อาศัยคนยากจน ๒. คณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาหนี้สินคนยากจน ๓. คณะอนุกรรมการเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย และ ขยายโอกาสคนยากจนด้านเกษตรกรรม ๔. คณะอนุกรรมการเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย และขยาย โอกาสคนยากจนด้านแรงงานและสวัสดิการสังคม รมว.รง เป็นประธาน ปรง. เป็นรองประธาน รอง ปรง. เป็นเลขานุการ
คณะทำงานในส่วนกลาง/ภูมิภาคคณะทำงานในส่วนกลาง/ภูมิภาค ๑. ศตจ.รง.:รมว.รง. เป็นผู้อำนวยการ ผู้แทน พม. พณ. มท. ศธ. สธ. อก. กทม. ๒. คณะทำงานระดับจังหวัด6 ฝ่าย ฝ่ายปฏิบัติการแก้ไขปัญหาด้านหนี้สินภาคประชาชน / ที่ดินทำกิน / ที่อยู่ อาศัย / เกษตรกรรม / แรงงานและสวัสดิการสังคม / ฝ่ายติดตามประเมินผล ๓. คณะทำงานระดับอำเภอ3 ฝ่าย ฝ่ายปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจนระดับอำเภอ / ฝ่ายสำรวจกลั่นกรองข้อมูล ฝ่ายปฏิบัติการแก้ไขปัญหาด้านต่างๆ (ด้าน รส. มี จนท.รง. ที่ ผวจ. มอบหมาย) ๔. ชุดปฏิบัติการตำบล
เป้าหมายการแก้ไขความยากจนเป้าหมายการแก้ไขความยากจน เป้าประสงค์ประชาชนยากจนได้รับโอกาสในการเข้าสู่ทุน ที่ทำกิน และได้รับการพัฒนาความรู้เพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ เป้าหมาย/ตัวชี้วัดคนยากจน ๗.๕ ล้านคน สามารถ ประกอบอาชีพและมีรายได้สูงกว่า ๑,๒๓๐ บ/ค/ด พื้นที่ หมู่บ้าน 16,735 ตำบล 4,636 อำเภอ 846
การลดรายจ่าย เป้าหมาย พื้นที่เป้าหมาย ภาค NE ตำบล 1,928 หมู่บ้าน 6,676 ภาค North ตำบล 1,235 หมู่บ้าน 5,806 ภาค Central ตำบล 941 หมู่บ้าน 3,012 ภาค South ตำบล 532 หมู่บ้าน 1,241 24
เป้าหมายการแก้ไขความยากจนเป้าหมายการแก้ไขความยากจน จังหวัดสุโขทัย เมือง 30 หมู่บ้าน 9 ตำบล ศรีสัชนาลัย 47 หมู่บ้าน 10 ตำบล ทุ่งเสลี่ยม 27 หมู่บ้าน 5 ตำบล ศรีนคร 14 หมู่บ้าน 3 ตำบล สวรรคโลก39 หมู่บ้าน 12 ตำบล พื้นที่ 9/67/255 www.cdd.go.th CDD OC ความยากจน..ข้อมูล..พื้นที่ เป้าหมายคนยากจน มท./กค. จาก สย. 1 , 7 , 8 จาก Re X-ray จาก จปฐ./พช.
เป้าหมายการแก้ไขความยากจนเป้าหมายการแก้ไขความยากจน จังหวัดลพบุรี โคกสำโรง 47 หมู่บ้าน 12 ตำบล สระโบสถ์ 13 หมู่บ้าน 4 ตำบล ท่าวุ้ง 39 หมู่บ้าน 10 ตำบล หนองม่วง 15 หมู่บ้าน 5 ตำบล พัฒนานิคม19 หมู่บ้าน 7 ตำบล พื้นที่ 11/103/373 www.cdd.go.th CDD OC ความยากจน..ข้อมูล..พื้นที่ เป้าหมายคนยากจน มท./กค. จาก สย. 1 , 7 , 8 จาก Re X-ray จาก จปฐ./พช.
เส้นทาง...สู่การแก้ปัญหาความยากจนเส้นทาง...สู่การแก้ปัญหาความยากจน • บรรจุงานนอกภาคเกษตร • แนะแนวอาชีพเพื่อมีงานทำ ในพื้นที่ • ------------------------ • นร/นศ : ฝึกเตรียมเข้าทำงาน ขยายโอกาส ขยายโอกาส เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย • ส่งเสริมการประกอบอาชีพ • อิสระ / รับงานไปทำที่บ้าน • เป็นสมาชิก “ศูนย์ช่างประจำ ตำบล” • พัฒนาอาชีพเสริม • เพิ่มประสิทธิภาพในการ ทำงาน • ------------------------ • นร/นศ : มีรายได้ระหว่างเรียน คาราวานแก้จน หรือ แก้ปัญหาเบื้องต้น และสรุปรายละเอียด ความต้องการ เพิ่มรายได้ หน่วยเคลื่อนที่เร็ว Urgent Unit ประมวล ข้อมูลพื้นที่ ประเมินผล ความยั่งยืน • สร้างวินัยการออม • พัฒนาความสามารถทางช่าง • เสริมสร้างความปลอดภัย • ป้องกันการหลอกลวง สรุปการแก้ปัญหา ส่ง (PLOC/POC -> MLOC -> PMOC) ลดรายจ่าย
ขั้นตอน / แนวทาง..สู่การแก้ปัญหาความยากจน ๑. ประมวลข้อมูลพื้นที่ ๑.๑ ข้อมูล มท./กค. และผลการ สำรวจเชิงลึก (ก.ย. ๔๗) ๑.๒ ข้อมูล สย. ๑ , ๗ , ๘ ๑.๓ ข้อมูล Re X-ray และข้อมูล ชุดปฏิบัติการตำบล-อำเภอ ๑.๔ ข้อมูล จปฐ. รวม 374,077 คน เร่ร่อน 2,066 คน ผิดกฎหมาย 9,657 คน หลอกลวง 5,655 คน นักเรียน 249,711 คน หนี้สิน 106,988 คน เป้าหมาย จนท.ประสานงาน รง. ประจำอำเภอ จำนวน / ข้อมูลบุคคล แยกหมู่บ้านตำบล ลักษณะความต้องการ / ความพร้อม (วัน เวลา สถานที่) รายละเอียด
ขั้นตอน / แนวทาง..สู่การแก้ปัญหาความยากจน ๒. แก้ปัญหาเบื้องต้น และสรุปรายละเอียด ความต้องการ ชุดปฏิบัติการตำบล / อำเภอ จนท.ประสานงาน รง. ประจำอำเภอ(ฝ่ายปฏิบัติการแก้ไขปัญหาด้าน รส.) ศตจ.จ. / ฝ่ายปฏิบัติการ รส.จ. ส่วนราชการ รง.จ. (ใช้แบบรายงาน ช.๑-๘ มาประยุกต์)
๓. คาราวานแก้จน หน่วยเคลื่อนที่เร็ว Urgent Unit ขั้นตอน / แนวทาง..สู่การแก้ปัญหาความยากจน ผลงาน (ก.ค) 134,568 คน ฝึกอาชีพ 14,793 คน (2,893) จัดหางาน10,418 คน (2,579) จัดอาชีพเสริม 11,156 คน (5,163) จัดหาเงินทุน 894 คน (602) นักเรียน 97,307 คน (เฉพาะ รง.) ๓.๑ คาราวานแก้จนระดับจังหวัด ๓.๒ การให้บริการ ณ ที่ตั้ง ๓.๓ Mobile ออกพื้นที่ (รวมถึง การบริการบรรจุงานผ่าน Internet ตำบล) ๓.๔ การใช้เครือข่าย ศตจ.จ. / ฝ่ายปฏิบัติการ รส.จ. / ส่วนราชการ รง.จ. (ใช้แบบรายงาน ช.๑-๘ มาประยุกต์)
รวม 18,819.2455 ล้านบาท เงินสมทบประกันสังคม 14,465.0000 ล้านบาท 4,354.2455 ล้านบาท งบประมาณกระทรวงแรงงาน พ.ศ.2549 ยากจน 1,112.4022 ล้านบาท 126.9287 ล้านบาท การต่างประเทศ275.5843 ล้านบาท พัฒนาคน&สังคม2,400.9401 ล้านบาท รักษาความมั่นคง 100.2043 ล้านบาท ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ338.1859 ล้านบาท
งบประมาณแรงงาน พ.ศ.2549 จำแนกตามประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ การขจัดความยากจน งปม. / ยุทธ รง. ประเด็นยุทธศาสตร์ 1,239.3309 ล้านบาท @ สร้างระบบคุ้มครองทางสังคม โดย ขยายขอบเขตการประกันสังคมให้ครอบคลุม แรงงานนอกระบบและแรงงานภาค เกษตร รวมทั้งส่งเสริมการระดมเงินออมเพื่อ สวัสดิการของชุมชน ยุทธ รง.: การคุ้มครองทางสังคมให้แรงงานมีหลัก ประกันที่เหมาะสม ยุทธ รง.: การขยายโอกาสและเพิ่มทางเลือกในการประกอบอาชีพและการมีงานทำเพื่อขจัดความยากจน @ จัดคาราวานแก้จนที่ให้บริการและคำแนะนำ เพื่อสร้างโอกาสและทางเลือกในการ ประกอบอาชีพและเสริมสร้างทักษะต่างๆ รวมถึงการศึกษาและสาธารณสุข
ผลผลิตสป. 7.2.1 กกจ. 7.1.1 กพร. 7.1.1 กิจกรรม การจัดคาราวาน / เสริมสร้างสนับสนุนเครือข่ายให้บริการ /บูรณาการฝึกอาชีพ จัดหางาน สร้างอาชีพเสริม / ให้บริการจัดหางานในประเทศ-ตปท / พัฒนาฝีมือจนสามารถประกอบอาชีพ-มีรายได้ งบประมาณ 921.2316 ล้านบาท การปฏิบัติงาน ปี งปม. 2549 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การขจัดความยากจน (ค. ระดับบุคคล) ยุทธศาสตร์ รง. 1การขยายโอกาสและเพิ่มทางเลือกในการประกอบอาชีพและการมีงานทำ เพื่อขจัดความยากจน คนยากจน2.25 ล้านคนมีงานทำมีอาชีพนอกภาคเกษตร • ประชาชนยากจนได้รับโอกาสทางเลือกในการประกอบอาชีพเพื่อเพิ่มรายได้ @ ประชาชนยากจน 450,000 คน มีงานทำมีอาชีพรายได้เพิ่มขึ้น @ พื้นที่ 952 ตำบลได้รับบริการโครงการคาราวานแก้จน
ผลผลิต กกจ. 7.1.2 กสร. 7.2.1 กิจกรรม การจัดคาราวาน / คุ้มครองคนหางาน-ควบคุม บจ. / ส่งเสริมการจัดสวัสดิการ งบประมาณ 191.1706 ล้านบาท การปฏิบัติงาน ปี งปม. 2549 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การขจัดความยากจน (ค. ระดับบุคคล) ยุทธศาสตร์ รง. 2การคุ้มครองทางสังคมให้แรงงานมี หลักประกันที่เหมาะสม คนยากจน2.25 ล้านคนมีงานทำมีอาชีพนอกภาคเกษตร • ประชาชนยากจนได้รับโอกาสทางเลือกในการประกอบอาชีพเพื่อเพิ่มรายได้ @ ประชาชนยากจน 450,000 คน มีงานทำมีอาชีพรายได้เพิ่มขึ้น @ พื้นที่ 952 ตำบลได้รับบริการโครงการคาราวานแก้จน
งบประมาณ พ.ศ.2549 (สำนักงานปลัดกระทรวง 746.8277 ลบ.) ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าหมายการให้บริการ การขจัดความยากจน ประชาชนยากจนมีโอกาสและทางเลือกในการรับบริการ (ด้านแรงงาน) 234.6142 ล้านบาท จำนวน 952 ตำบล ประชาชนยากจนที่มารับบริการ มีรายได้เพิ่มขึ้น 60 % กลยุทธ์ พัฒนากลไกการให้บริการ ด้านแรงงานแก่ประชาชนยากจนในพื้นที่ การจัดคาราวาน / เสริมสร้างสนับสนุนเครือข่ายให้บริการ / บูรณาการฝึกอาชีพ จัดหางาน สร้างอาชีพเสริม
งปม. การขจัดความยากจน ปี 2549 (สำนักงานปลัดกระทรวง 234.6142 ลบ.) จำนวน 952 ตำบล (มีรายได้เพิ่ม 60 %) การจัดคาราวาน1,137 ตำบล 4,151 หมู่บ้าน นำบริการจัดหางาน/ฝึกอาชีพ/อาชีพเสริม ไปให้บริการประชาชน ยากจนในหมู่บ้าน (หน่วยงาน รง. / อนุกรรมการ / อื่นๆ) เสริมสร้างสนับสนุนเครือข่าย6,624อบต. ส่งเสริม อปท. / ผู้นำชุมชน / อาสาสมัคร / ผู้ประกอบการ เข้ามา ร่วม (บูรณาการแผนงานกับ อปท.) บูรณาการให้บริการทุกจังหวัด (เน้นพื้นที่เป้าหมาย) บริหารจัดการด้านข้อมูล การประสานงานพื้นที่ การรวม Supply จากคณะอนุกรรมการ การตัดยอด/รายงานผล @ มท. เน้นพื้นที่ ต้องหารือกับ ผวจ. กำหนดพื้นที่ (หมู่บ้าน/ตำบล/อำเภอ) เร่งด่วน
งบประมาณ พ.ศ.2549 (กรมการจัดหางาน 893.7968 ลบ.) ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าหมายการให้บริการ การขจัดความยากจน ประชาชนที่มาใช้บริการมีงานทำมีรายได้ / การหลอกลวงหรือ เอารัดเอาเปรียบคนหางานลดลง 548.0642 ล้านบาท จำนวน 1,179,440 คน มีอาชีพ/มีงานทำ 50 % กลยุทธ์ สนับสนุนโครงการคาราวานแก้จนและสร้างเครือข่ายการส่งเสริมอาชีพและการมีงานทำ / คุ้มครองคนหางานไม่ให้ถูกเอารัดเอาเปรียบจาก... การจัดคาราวาน / ให้บริการ จัดหางานในประเทศ-ตปท / คุ้มครองคนหางาน-ควบคุม บจ.
งปม. การขจัดความยากจน ปี 2549 (กรมการจัดหางาน 548.0642 ลบ.) จำนวน 1,179,440 คน (มีอาชีพ/มีงานทำ 50 %) การจัดคาราวาน 587,440 คน (กทม. 11,831 คน) ให้บริการจัดหางาน (ในประเทศ) 255,000 คน (กทม. 69,650 คน) นัดพบ รง. / จัดหางาน ตปท. 337,000 คน (กทม. 34,400 คน) คุ้มครองคนหางาน-ควบคุม บจ. 88,100 คน (กทม. 7,550 คน) (โครงการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจในการไปทำงาน ตปท. โครงการเคาะประตูบ้านป้องกันการหลอกลวง โครงการป้องกันปราบปรามการหลอกลวง โครงการเครือข่ายชุมชนรณรงค์ป้องกันการลักลอบไปทำงาน ตปท) @ มท. เน้นพื้นที่ ต้องหารือกับ ผวจ. กำหนดพื้นที่ (หมู่บ้าน/ตำบล/อำเภอ) เร่งด่วน
งบประมาณ พ.ศ.2549 (กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน 1,370.8286 ลบ.) ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าหมายการให้บริการ การขจัดความยากจน แรงงานได้รับการพัฒนาฝีมือและศักยภาพ มีโอกาสในการประกอบอาชีพ มีรายได้ 240.9414 ล้านบาท จำนวน 54,800 คน ประกอบอาชีพ/มีรายได้ 60 % กลยุทธ์ สนับสนุนโครงการคาราวานแก้จนและประสานการสร้างเครือข่ายการพัฒนาฝีมือแรงงาน การจัดคาราวาน (พัฒนาฝีมือจนสามารถประกอบอาชีพ/มีรายได้)
ภาค ๑ ภาค ๒ ภาค ๓ ภาค ๔ ภาค ๕ ภาค ๖ 1,302 2,758 3,503 4,712 5,880 5,437 ภาค ๗ ภาค ๘ ภาค ๙ ภาค ๑๐ ภาค ๑๑ ภาค ๑๒ 4,457 3,392 3,552 3,568 2,826 5,933 งปม. การขจัดความยากจน ปี 2549 (กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน 240.9414 ลบ.) จำนวน 54,800 คน (มีอาชีพ/มีรายได้ 60 %) ฝึกเสริมทักษะ พัฒนา/ส่งเสริมผู้ประกอบอาชีพอิสระ 7,480 คน @ มท. เน้นพื้นที่ ต้องหารือกับ ผวจ. กำหนดพื้นที่ (หมู่บ้าน/ตำบล/อำเภอ) เร่งด่วน
งบประมาณ พ.ศ.2549 (กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน 856.0692 ลบ.) ประเด็นยุทธศาสตร์ การขจัดความยากจน เป้าหมายการให้บริการ 88.7824 ล้านบาท แรงงานได้รับการจัดสวัสดิการแรงงาน จำนวน 96,000 คน (เฉพาะคาราวานแก้จน) สวัสดิการนอกเหนือ กม. 65 % กลยุทธ์ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการแรงงาน การจัดคาราวาน / ส่งเสริมการจัดสวัสดิการ
การปฏิบัติการ (งปม. ปี 2549) ต้องมีขั้นตอนการเตรียมการและติดตามผลที่เข้มข้น 1.ต้องกำหนดพื้นที่เป้าหมายร่วมเพื่อการปฏิบัติการ @ หารือ ผวจ.(รอง ผวจ.)จัดลำดับความเร่งด่วนของพื้นที่ยากจน (ใช้ข้อมูลอำเภอ / ตำบล / หมู่บ้าน ของ กพช. มท.) @ ประสานงานอำเภอ (โดย จนท.ประสานงานด้านแรงงานประจำอำเภอ) ขอรับรายชื่อ ประชาชนยากจนที่ต้องการความช่วยเหลือด้านแรงงาน (ซึ่งเป็นปัจจุบัน) และแยกรายชื่อ ประชาชนที่ผ่านการประนอมหนี้ของ กค. ตามอำเภอ/ตำบล เพื่อเป็นฐานการเข้าช่วยเหลือ @ประชุมร่วมส่วนราชการในสังกัด เพื่อกระจาย งปม. และเป้าหมายการทำงานลงตาม ความเร่งด่วนของพื้นที่ยากจน
การปฏิบัติการ (งปม. ปี 2549) ต้องมีขั้นตอนการเตรียมการและติดตามผลที่เข้มข้น 1.ต้องกำหนดพื้นที่เป้าหมายร่วมเพื่อการปฏิบัติการ • การหาประชาชนเป้าหมายต้องเข้าหมู่บ้านยากจน ต้องยืดหยุ่น • วิธีการทำงาน (หลักสูตร ขั้นตอน) ต้องให้ชุมชนมีส่วนร่วม ต้องใช้ Mobile @การช่วยเหลือต้องคำนึงถึงแบบรายงาน ช. 1 – ช.8 @ กรณี อปท. มีแผนงานโครงการ งปม. สนับสนุน ควร ปฏิบัติการทันที (เลื่อนลำดับความเร่งด่วน)
การปฏิบัติการ (งปม. ปี 2549) ต้องมีขั้นตอนการเตรียมการและติดตามผลที่เข้มข้น 1.ต้องกำหนดพื้นที่เป้าหมายร่วมเพื่อการปฏิบัติการ • การหาประชาชนเป้าหมายต้องเข้าหมู่บ้านยากจน ต้องยืดหยุ่น • วิธีการทำงาน (หลักสูตร ขั้นตอน) ต้องให้ชุมชนมีส่วนร่วม ต้องใช้ Mobile 3.ผลสัมฤทธิ์ คือ ปชช. มีอาชีพมีรายได้มากกว่า 1,230 บ/ด ปี งปม. 2549 = 450,000 คน / พื้นที่ 952 ตำบล
แนวทางปฏิบัติการ ปี 2549 (กระทรวงแรงงาน)
ความเป็นมา เป้าหมาย - วัตถุประสงค์ กลยุทธ์การดำเนินงาน & แนวทางปฏิบัติการของกระทรวงแรงงาน
โครงการสำคัญ • โครงการส่งเสริมอาชีพและ การมีงานทำ • โครงการพัฒนา/ส่งเสริมผู้ ประกอบอาชีพอิสระ • โครงการคาราวานแก้จน ให้บริการด้านแรงงาน • คนยากจน 2.25 ล้านคน มีงานทำ มีอาชีพนอกภาคเกษตร งบประมาณ 7,650.56 ล้านบาท แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี กระทรวงแรงงาน 01-01-005 , 01-03-012 , 02-04-019 , 02-08-036 , 08-40-234 , 08-40-236 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1การขยายโอกาสและเพิ่มทางเลือกในการประกอบอาชีพและการมีงานทำ เพื่อขจัดความยากจน
นโยบายรัฐบาล & ยุทธศาสตร์กระทรวง นโยบาย 1 การขจัดความยากจน (ระดับบุคคล) ยุทธศาสตร์ รง. ๑ การขยายโอกาสและเพิ่มทางเลือกในการประกอบอาชีพและการมีงานทำ เพื่อขจัดความยากจน งปม. ผลผลิต : สป. ๒๓๔,๖๑๔,๒๐๐ บาท กกจ. ๔๔๕,๖๗๖,๐๐๐ บาท กพร. ๒๔๐,๙๔๑,๔๐๐ บาท ยุทธศาสตร์ รง. ๒ การคุ้มครองทางสังคมให้แรงงาน มีหลักประกันที่เหมาะสม งปม. ผลผลิต : กกจ. ๑๐๒,๓๘๘,๒๐๐ บาท กสร. ๘๘,๗๘๒,๔๐๐ บาท
แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี กระทรวงแรงงาน 01-01-005 , 01-03-012 , 02-04-019 , 02-08-036 , 08-40-234 , 08-40-236 • ประเด็นยุทธศาสตร์ของกระทรวงแรงงาน • การขยายโอกาสและเพิ่มทางเลือกในการประกอบอาชีพและการมีงานทำ เพื่อขจัดความยากจน • การคุ้มครองทางสังคมให้แรงงานมีหลักประกันที่เหมาะสม • การเสริมสร้างและดำเนินการพัฒนาศักยภาพแรงงาน • การจัดระบบการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว • การพัฒนาระบบบริหารจัดการด้านแรงงานขององค์กรให้มี ประสิทธิภาพ
การขจัดความยากจน 1,239.4878 ล้านบาท งบประมาณ พ.ศ.2549(กระทรวงแรงงาน) ประเด็นยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์กระทรวง การขยายโอกาสและเพิ่มทางเลือกในการประกอบอาชีพและการมีงานทำเพื่อขจัดความยากจน สป (ข้อ 7.2.1) 234.7591 ล้านบาท กกจ (ข้อ 7.1.1) 445.6880 ล้านบาท กกจ (ข้อ 7.1.2) 102.3882 ล้านบาท กพร (ข้อ 7.1.1) 240.9414 ล้านบาท กสร (ข้อ 7.2.1) 88.7824 ล้านบาท การคุ้มครองทางสังคมให้แรงงานมีหลักประกันที่เหมาะสม สป (ข้อ 7.1.1) 10.5024 ล้านบาท กสร (ข้อ 7.1.1) 116.4263 ล้านบาท
การลดรายจ่าย ข้อสังเกตุ การใช้งบประมาณ ปี 2549 ต้องมีขั้นตอนการเตรียมการและติดตามผลที่เข้มข้น 1.การจัดสรรงบประมาณ ต้องคำนึงถึงพื้นที่เป้าหมาย ภาค NE ตำบล 1,928 หมู่บ้าน 6,676 ภาค North ตำบล 1,235 หมู่บ้าน 5,806 ภาค Central ตำบล 941 หมู่บ้าน 3,012 ภาค South ตำบล 532 หมู่บ้าน 1,241 24
การลดรายจ่าย ข้อสังเกตุ การใช้งบประมาณ ปี 2549 ต้องมีขั้นตอนการเตรียมการและติดตามผลที่เข้มข้น • การหาประชาชนเป้าหมายต้องเข้าหมู่บ้านยากจน ต้องยืดหยุ่น • วิธีการทำงาน (หลักสูตร ขั้นตอน) ต้องให้ชุมชนมีส่วนร่วม ต้องใช้ Mobile • ชุดปฏิบัติการตำบล / อำเภอ • จนท. ประสานงาน รง. ประจำอำเภอ • ระบบ e-Job on the move / พัฒนา ช่างประจำตำบล / หมู่บ้านช่าง ฯลฯ 24
การลดรายจ่าย ข้อสังเกตุ การใช้งบประมาณ ปี 2549 ต้องมีขั้นตอนการเตรียมการและติดตามผลที่เข้มข้น 3.ผลสัมฤทธิ์ คือ ปชช. มีอาชีพมีรายได้มากกว่า 1,230 บ/ด เป้าหมายปี งปม. 2549 = 450,000 คน พื้นที่ 952 ตำบล 24
กลุ่มผู้มีงานทำ แต่มีรายได้น้อย Aทำงานน้อยชั่วโมงต่อวัน 1. ส่งเสริมการประกอบอาชีพอิสระ / รับงานไปทำที่บ้าน 15
กลุ่มผู้มีงานทำ แต่มีรายได้น้อย Aทำงานน้อยชั่วโมงต่อวัน 2. พัฒนาอาชีพเสริม เช่น การทำขนม ดอกไม้ ผลิตภัณฑ์สุขภาพชุมชน ของชำร่วย ค้าขายเร่ ฯลฯ ใช้ปราชญ์ชาวบ้าน และผู้สูงอายุที่มีประสบการณ์มาเป็นครู 15
กลุ่มผู้มีงานทำ แต่มีรายได้น้อย Bเพิ่ม ปสภ. การทำงาน เพิ่มรายได้ พัฒนาฝีมือ / รับประกันฝีมือ เชื่อมโยงค่าจ้างกับมาตรฐานฝีมือ
กลุ่มผู้มีงานทำ แต่มีรายได้น้อย Bเพิ่ม ปสภ. การทำงาน เพิ่มรายได้ เป็นสมาชิก “ศูนย์ช่างประจำตำบล” • ด้านต้นทุน • ด้านการหางานจากภายนอกส่งให้ • ด้านสร้างเครือข่ายในการทำงาน 15
กิจกรรม ปฏิบัติ งบประมาณ พ.ศ.2549(กระทรวงแรงงาน) ประเด็นยุทธศาสตร์:การขจัดความยากจน การขยายโอกาสและเพิ่มทางเลือกในการประกอบอาชีพและการมีงานทำเพื่อขจัดความยากจน • เสริมสร้างสนับสนุนเครือข่ายให้บริการฝึกอาชีพ จัดหางาน สร้างอาชีพเสริม • โครงการคาราวานแก้จน (รวมบริการส่งเสริมอาชีพ/การมีงานทำ การคุ้มครองคนหางาน การพัฒนาฝีมือ การจัดสวัสดิการมากกว่าที่ กฎหมายกำหนด) • บริหารจัดการฝึกอาชีพ จัดหางาน สร้างอาชีพเสริมเชิง บูรณาการ
กิจกรรม ปฏิบัติ งบประมาณ พ.ศ.2549(กระทรวงแรงงาน) ประเด็นยุทธศาสตร์:การขจัดความยากจน การคุ้มครองทางสังคม ให้แรงงานมีหลักประกันที่เหมาะสม รง.นอกระบบ รง.ภาคเกษตร ได้รีบการคุ้มครองทางสังคม 300,000 คน • ขยายการคุ้มครองแรงงาน ไปยังกลุ่มแรงงานนอกระบบ แรงงานภาคเกษตร • พัฒนาระบบประกันสังคมที่เหมาะสมกับกลุ่มแรงงานนอก ระบบและแรงงานภาคเกษตร
งบประมาณกลางปี (คณะอนุกรรมการเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย และขยายโอกาสคนยากจนด้านแรงงาน และสวัสดิการสังคม)
การลดรายจ่าย งบประมาณกลางปี 2548 ศูนย์อำนวยการต่อสู้ความยากจนแห่งชาติ ข้อเสนอของอนุกรรมการ เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย และขยายโอกาสคนยากจน ด้านแรงงานและสวัสดิการสังคม รวม 9 โครงการ 340.768 ล้านบาท สาธารณสุข 1 โครงการ 34.844 ลบ. อุตสาหกรรม 2 โครงการ 15.754 ลบ. พัฒนาสังคม 1 โครงการ 22.762 ลบ. ศึกษาธิการ 2 โครงการ 177.20 ลบ. แรงงาน 3 โครงการ 90.208 ลบ. 24