550 likes | 740 Views
บทที่ 3 โครงสร้างข้อมูลและการจัดการระบบข้อมูล (Data System Management and Data Structure). By Juthawut Chantharamalee Computer Science Suan Dusit University. 4124404 Human and Computer Interaction. เนื้อบทเรียน. โครงสร้างข้อมูล (Data Structure) การจัดโครงสร้างข้อมูล
E N D
บทที่ 3โครงสร้างข้อมูลและการจัดการระบบข้อมูล(Data System Management and Data Structure) By Juthawut Chantharamalee Computer Science Suan Dusit University 4124404 Human and Computer Interaction
เนื้อบทเรียน • โครงสร้างข้อมูล (Data Structure) • การจัดโครงสร้างข้อมูล • การจำแนกโครงสร้างข้อมูล • ประเภทของแฟ้มข้อมูลในระบบสารสนเทศทางการบัญชี • ประเภทของฐานข้อมูล (Type of Database) • รูปแบบของฐานข้อมูล (Database Models)
เนื้อบทเรียน (ต่อ) • กลุ่มภาษาเพื่อการนิยามข้อมูล (DDL) • กลุ่มภาษาเพื่อการจัดการข้อมูล (DML) • กลุ่มภาษาเพื่อใช้ในการควบคุมข้อมูล (DCL) • ระบบการจัดการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ • ความสัมพันธ์ระหว่าง Entity( Cardinality )
โครงสร้างของข้อมูล (Data Structure) 1. ลักษณะของรายการข้อมูล (Data Item) : ข้อมูลที่มีลักษณะเป็น Unitเดียว 2. ลักษณะของกลุ่มรายการ (Group Item) : แบ่งรายการข้อมูลออกเป็นรายการย่อยๆ / กลุ่มๆ 3. ลักษณะรายการเบื้องต้น (Elementary Item) : รายการข้อมูลที่ไม่สามารถแบ่งออกเป็นรายการย่อยๆ / กลุ่มๆได้ 4. กลุ่มของข้อมูล (Enitity Set) : - รายการที่มีรายละเอียดของข้อมูลคล้ายๆ กัน - หลายๆรายการรวมกันเป็นกลุ่ม
โครงสร้างของข้อมูล (Data Structure) - มีคุณสมบัติของแต่ละรายการย่อย ที่มีลักษณะของข้อมูลอยู่ในช่วงที่กำหนด - ในการกำหนดความกว้าง / ความยาวของField จะมีทั้ง 1. คงที่ (Fixed Length) 2. ผันแปร (Variable Length) ใน 1 Record ย่อมมีทั้ง Fixed & Variable Length
การจัดโครงสร้างของข้อมูล - ต้องทำความเข้าใจต่อระบบการจัดการ / จัดรูปแบบข้อมูล - สามารถ Access และเรียกใช้ข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ - สามารถประยุกต์ใช้กับงานด้านต่างๆได้ดี - ต้องให้ความสำคัญต่อระบบการจัดการข้อมูล โดยข้อมูลต้องประกอบด้วย 1. จัดให้เป็นระบบ (Organize) สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ ตามจุดมุ่งหมายผู้ใช้
การจัดโครงสร้างของข้อมูล 2. ประมวลผล (Process) และแสดงผลลัพธ์ (Presentation Output) ในรูปแบบที่ต้องการ 3. เป็นตัวแทน (Represent) ของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น 4. สามารถป้องกัน (Protect) และจัดการ (Manage) ทำให้ข้อมูลมีความถูกต้อง / สมบูรณ์
การจำแนกโครงสร้างของข้อมูล 1. โครงสร้างข้อมูลพื้นฐาน (Primitive Data Structure) - มีค่าเฉพาะประเภทใดประเภทหนึ่ง ดังนี้ 1. เลขจำนวนเต็ม (Integer) 2. ตรรก (Boolean) 3. อักษร (Character) 4. เลขจำนวนจริง (Real) ฯลฯ - แต่ละภาษา Com. จะมีวิธีการและการกำหนดคำสั่งที่แตกต่างกัน - โครงสร้างของไวยากรณ์แต่ละภาษา จะแตกต่างกัน
การจำแนกโครงสร้างของข้อมูล - การประกาศตัวแปรบางภาษา 1. ประกาศแบบเป็นทางการ (Explicit Declare) : แยกเป็นส่วนหนึ่งต่างหาก : Pascal , Cobol 2. ประกาศตัวแปรภายในโปรแกรม (Implicit Declare) : - ไม่ต้องแยกออกมาเป็นส่วนหนึ่งต่างหากจากคำสั่ง : Fortrane ฯลฯ
การจำแนกโครงสร้างของข้อมูล • การออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ หรือระบบการติดต่อระหว่างผู้ใช้งานระบบและระบบงานทางคอมพิวเตอร์เป็นส่วนที่เต้องอาศัยจินตนาการในเรื่องการดำเนินงานอย่างมากเพราะต้องคิดเผื่อว่า ระบบนั้นได้ดำเนินงานเสร็จสิ้นไปแล้วจะ
การจำแนกโครงสร้างของข้อมูล 2. โครงสร้างข้อมูลที่มีส่วนประกอบอย่างง่าย (Simple Data Structure) - นำเอาข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานประกอบขึ้นมาเป็นชุดของข้อมูล - มีความสัมพันธ์กันในลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง - เช่น ข้อมูลรูปแบบArray รูปแบบข้อมูลแบบRecord ฯลฯ
การจำแนกโครงสร้างของข้อมูล 3. โครงสร้างข้อมูลที่มีส่วนประกอบซับซ้อน (Compound Data Structure) - นำเอาข้อมูลที่มีส่วนประกอบอย่างง่ายๆมาประกอบขึ้น เป็นโครงสร้างที่ซับซ้อน - เป็นการเฉพาะกิจภายในโปรแกรมแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ1. ชุดข้อมูลสัมพันธ์เชิงเส้นตรง (Linear Structure) : Linked List, Stack, Queue ฯลฯ 2. ชุดข้อมูลสัมพันธ์ไม่เป็นเส้นตรง (Non - Linear Structure) : Binary Tree, Graph, Tree, M – way, Search Tree ฯลฯ
ประเภทของฐานข้อมูล (Type of Database) 1. ฐานข้อมูลจากภายนอก (External Database) - อยู่ในเครือข่ายInternet - ถูกจัดเตรียมข้อมูลจากหน่วยงานต่างๆ : ภาครัฐ และ เอกชน - สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย 2. ฐานข้อมูลแบบกระจาย (Distributed Database) - ปรับเปลี่ยนตามโครงสร้างของการมีหน่วยงานแต่ละสถานที่ - เชื่อมโยงข้อมูลผ่านเข้ามาหน่วยงานกลาง - ฐานข้อมูลรวมอยู่ที่หน่วยงานกลาง จะทำหน้าที่ปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยอยู่เสมอ
ประเภทของฐานข้อมูล (Type of Database) 3. ฐานข้อมูลเชิงคลังข้อมูล (Data Warehouse Database) - เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลที่มีประโยชน์ต่อผู้ใช้องค์กรในระดับต่างๆ - เป็นข้อมูลทั้งในอดีต และปัจจุบัน - ทำการกลั่นกรองจากฐานข้อมูล / ระบบงานอื่นๆ - เอาเฉพาะที่ให้ประโยชน์ต่อองค์กรธุรกิจมาเก็บไว้รวมกัน - เตรียมความพร้อมเมื่อต้องการใช้ข้อมูลอย่างรวดเร็ว - ได้ข้อมูลที่ตรงต่อเป้าหมายในการใช้งาน
ประเภทของฐานข้อมูล (Type of Database) 4. ฐานข้อมูลสำหรับผู้ใช้ปลายทาง (End User Database) - ฐานข้อมูลส่วนตัว / ส่วนบุคคลของผู้ใช้งาน - ถูกสร้างโดยผู้ใช้งานเอง - การจัดเก็บข้อมูล จะถูกแยกเป็นแฟ้มข้อมูลอยู่ในที่เดียวกัน 5. ฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติงาน (Operational Database) - เกี่ยวข้องกับรายการที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานขององค์กรธุรกิจ - ขึ้นอยู่กับกิจกรรมทั้งหมดที่องค์กรธุรกิจกระทำ - ฐานข้อมูลเชิงรายการค้าทางธุรกิจ (Business Transaction Databases) เช่น : ฐานข้อมูลพนักงาน , ฐานข้อมูลสินค้า ฯลฯ
ประเภทของฐานข้อมูล (Type of Database) 6. ฐานข้อมูลเชิงจัดการ (Management Database) - ผ่านการวิเคราะห์ / จัดเก็บให้อยู่ในรูปแบบการนำมาใช้งานได้ทันที - เพื่อการวางแผน ควบคุม และการตัดสินใจอย่างทันเวลา - ข้อมูลจะถูกสรุปให้เหมาะสม กะทัดรัด และชัดเจน - แหล่งของข้อมูลที่ใช้ในการผลิตฐานข้อมูล มาจากการประมวลผลของ 1) การนำฐานข้อมูลเชิงการปฏิบัติงาน 2) ข้อมูลจากภายนอกที่ส่งผลกระทบต่อการบริหาร/จัดการขององค์กรธุรกิจเรียกอีกอย่างว่า ฐานข้อมูลเชิงการวิเคราะห์ (Analytical Databases)
รูปแบบของฐานข้อมูล (Database Models) แบ่งออกเป็น 5 รูปแบบ ดังนี้ 1. ฐานข้อมูลในรูปแบบลำดับชั้น ( Hierarchical Models ) 2. ฐานข้อมูลในรูปแบบเครือข่าย ( Network Models ) 3. ฐานข้อมูลในรูปแบบเชิงสัมพันธ์ ( Relation Models ) 4. ฐานข้อมูลในรูปแบบเชิงวัตถุ ( Object - Oriented Models ) 5. ฐานข้อมูลในรูปแบบเชิงหลายมิติ ( Multi – Dimensional Models )
รูปแบบของฐานข้อมูล (Database Models) 1. ฐานข้อมูลในรูปแบบลำดับชั้น ( Hierarchical Models ) - เป็นรูปแบบอย่างง่าย และเกิดขึ้นเป็นรูปแบบแรก - มีลักษณะคล้ายต้นไม้หัวกลับ - อาจเรียกกันว่า รูปแบบโครงสร้างต้นไม้ ( Tree Structure ) - ฐานข้อมูลนี้จะมีความสัมพันธ์ไม่ซับซ้อน 1. ลักษณะหนึ่ง Entity ต่อหนึ่ง Entity (1:1) 2. หนึ่ง Entity ต่อกลุ่มของ Entity (1:n) 3. ไม่มีความสัมพันธ์ในลักษณะของกลุ่ม Entity ต่อกลุ่ม Entity (n:m)
รูปแบบของฐานข้อมูล (Database Models) 2. ฐานข้อมูลในรูปแบบเครือข่าย (Network Models) - สามารถเชื่อมโยงอย่างทั่วถึงทุก ๆ Entity ที่ต้องการเชื่อมโยงและมีความสัมพันธ์ระหว่างกัน - ความสัมพันธ์จะอยู่ในลักษณะ 1. หนึ่ง Entity ต่อ หนึ่ง Entity (1:1) 2. หนึ่ง Entity ต่อ กลุ่มของ Entity (1:n) 3. กลุ่มของ Entity ต่อ หนึ่ง Entity (1:n) 4. กลุ่มของ Entity ต่อ กลุ่มของ Entity (n:m) - จะมีความซับซ้อนและยุ่งยากในการใช้งานค่อนข้างมาก - ปัจจุบันไม่ถูกนำมาใช้อย่างเป็นทางการอีกแล้ว
รูปแบบของฐานข้อมูล (Database Models) 3. ฐานข้อมูลในรูปแบบเชิงสัมพันธ์ (Relational Models) - นิยมใช้กันมากในปัจจุบันและจะทำการจัดเก็บข้อมูลในรูปของตาราง(Table) - มีลักษณะเป็น 2 มิติ 1. แนวนอนที่เรียกว่า แถว (Row) > Tuple 2. แนวตั้งที่เรียกว่า คอลัมน์ (column) > Attribute - การเชื่อมโยงความสัมพันธ์จะต้องอาศัยค่าของKey Field หรือค่าของ Attributeที่อยู่ในตารางซึ่ง จัดเก็บข้อมูล - แต่ละตารางจะต้องมีชื่อตารางกำกับไว้ที่ ด้านบนสุดของตาราง ซึ่งเรียกว่า ชื่อของEntity (Entity name)
รูปแบบของฐานข้อมูล (Database Models) - ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการแก้ปัญหา 1. การเชื่อมโยงในรูปแบบฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น ส่วนของการเชื่อมโยงที่ไม่มีความยืดหยุ่น 2. การเชื่อมโยงในรูปแบบฐานข้อมูลแบบเครือข่าย ในส่วนของการเชื่อมโยงที่มีความยุ่งยากและซับซ้อนมากจนเกินไป - ทำให้ผู้ใช้งานที่มีความรู้ความชำนาญไม่เพียงพอ สามารถใช้งานได้ - ทุกส่วนย่อยจะถูกจัดเก็บไว้ในตารางเท่านั้น รวมทั้งตารางต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกัน - มี Primary Key 1. เป็นตัวช่วยในการเชื่อมโยงตาราง 2. การเข้าถึงและค้นคืนข้อมูล ช่วยในการลดความซ้ำซ้อนของการจัดเก็บข้อมูลและง่ายต่อการค้นหาหรือเรียกใช้ข้อมูล
รูปแบบของฐานข้อมูล (Database Models) 4. ฐานข้อมูลในรูปแบบเชิงวัตถุ (Object – Oriented Models) - เพื่อต้องการสร้างความสามารถเพิ่มมากขึ้นแก่การจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูล - ในอดีตจะเก็บข้อมูลในรูปแบบข้อความ ( Text ) เท่านั้น - จะสามารถจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบกราฟิก ( Graphics ) รูปภาพ ( Pictures) เสียง ( Voice )และข้อความ (Text ) หรือที่เรียกว่า มัลติมีเดีย ( Multimedia)
รูปแบบของฐานข้อมูล (Database Models) - มีส่วนประกอบในแต่ละวัตถุ คือ 1. ข้อมูลที่จะจัดเก็บ 2. โครงสร้างของ Attribute ที่ต้องการให้มีอยู่ในวัตถุนั้น 3. คำสั่งเพื่อบอกว่าวัตถุนั้นสามารถกระทำ ( Action ) อะไรได้บ้าง - จะจัดเก็บทุก ๆ สิ่งเป็นวัตถุทั้งหมด - วัตถุแต่ละวัตถุที่จัดเก็บยังสามารถบรรยายคุณสมบัติและบทบาทหน้าที่ในตัวเองของมันเอง
รูปแบบของฐานข้อมูล (Database Models) คุณสมบัติพิเศษอื่นๆ ของ ฐานข้อมูลในรูปแบบเชิงสัมพันธ์ 1. การถ่ายทอดคุณสมบัติ (Inheritance) 2. การเก็บซ่อนรายละเอียด ( Encapsulation ) 3. การนำกลับมาใช้ใหม่ (Reusable )
1. การถ่ายทอดคุณสมบัติ (Inheritance) - เป็นการนำโครงสร้างของAttributeที่อยู่ในวัตถุและคำสั่งเพื่อกระทำการในวัตถุหนึ่งไปใช้ในวัตถุอื่น - มีลักษณะโครงสร้างของAttributeที่อยู่ในวัตถุและคำสั่งเพื่อกระทำการในวัตถุเหมือนกัน - ต่างกิจกรรมกันเท่านั้น - โครงสร้างของAttributeที่อยู่ในวัตถุและคำสั่งเพื่อกระทำในวัตถุขึ้น -สามารถถ่ายทอดคุณสมบัติได้ทันทีอย่างทั่วถึงโดยไม่ต้องสร้างใหม่
2. การเก็บซ่อนรายละเอียด (Encapsulation) - การปกปิดข้อมูลโครงสร้างของAttributeและคำสั่งเพื่อกระทำการต่างๆที่อยู่ในวัตถุ - การที่จะเข้าไปหรือเข้าถึงวัตถุได้นั้นต้องได้รับอนุญาตเสียก่อนว่าในคำสั่งที่กำหนดไว้ใน Methodได้ประกาศไว้หรือไม่ - ถ้ามีจึงจะเข้าไปได้โดยการส่งข้อความเข้าไปร้องขอการใช้งานในส่วนที่ตนเกี่ยวข้องเท่านั้น
3. การนำกลับมาใช้ใหม่ (Reusable) - การนำวัตถุที่เคยสร้างขึ้นมานำมาปรับเปลี่ยนแก้ไขบางส่วนเพื่อนำไปใช้งานในวัตถุอื่นต่อไป
รูปแบบของฐานข้อมูล (Database Models) 5. ฐานข้อมูลในรูปแบบเชิงหลายมิติ (Multi-Dimensional Models) - นำมาใช้ในการเพื่อวิเคราะห์ธุรกิจที่มีความสลับซับซ้อนและมีความยุ่งยากในการดำเนินงาน
ภาษาที่ใช้ในการจัดการฐานข้อมูลภาษาที่ใช้ในการจัดการฐานข้อมูล - แบบจำลองการกระทำดังกล่าวสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 รูปแบบ 1. ความสำพันธ์เชิงพีชคณิต(Relational Algebra) 2. ความสำคัญเชิงแคลคูลัส(Relation Calculus) 1. ความสำพันธ์เชิงพีชคณิต (Relational Algebra) - ทฤษฎีทางภาษาสำหรับการปฏิบัติการระหว่างข้อมูลต่างๆในตารางหนึ่งหรือหลายๆตารางที่มี ความสัมพันธ์กัน - ไม่ส่งผลถึงตารางข้อมูลหลัก (Original Table or Original Relation) ที่ได้จัดเก็บไว้อยู่แล้ว - คำสั่งการสอบถามขั้นพื้นฐานส่วนใหญ่ที่ใช้กันถูกครอบคลุมด้วยตัวปฏิบัติการประกอบด้วย PROJECT SELECT และ JOIN
1. ความสำพันธ์เชิงพีชคณิต (Relational Algebra) PROJECT - ตัวปฎิบัติการในการดึงหรือค้นคืนข้อมูลในแนวตั้ง หรือ Column หรือ Attribute ของตารางใน ฐานข้อมูล - ทำการนำข้อมูลดังกล่าวมาสร้างตารางหรือRelationใหม่ SELECT - ตัวปฎิบัติการในการดึงหรือค้นคืนข้อมูลในแนวนอน หรือ Row หรือ Tupleของตารางใน ฐานข้อมูล - ทำการนำข้อมูลดังกล่าวมาสร้างตารางหรือRelationใหม่
1. ความสำพันธ์เชิงพีชคณิต (Relational Algebra) JOIN - เป็นตัวปฏิบัติการที่มีความสัมพันธ์เชิงพีชคณิตในการรวมตารางหรือRelationที่มีข้อมูลแยกกันอยู่ ในแต่ละตารางเข้ามารวมกัน - ตารางหรือRelationที่นำมารวมกันจะต้องสามารถเชื่อมโยงกันได้ระหว่างAttributes - การเชื่อมโยงเพื่อรวมตารางหรือRelationนั้น จะอาศัย Foreign Keyของตารางหนึ่งเพื่อไปอ้างอิง กับ Candidate Key ที่อยู่ในตารางหรือRelationอื่น
การพิจารณาว่าจะนำระบบการจัดการฐานข้อมูลตัวใดมาใช้งานมีการพิจารณาในเรื่องการพิจารณาว่าจะนำระบบการจัดการฐานข้อมูลตัวใดมาใช้งานมีการพิจารณาในเรื่อง 1. ราคา 2. ความสามารถของตัวระบบการจัดการฐานข้อมูล 3. ความเข้ากันกับH/W และ S/W ระบบปฏิบัติการที่มีอยู่แล้ว สิ่งจำเป็นจะต้องมีอยู่ในระบบก็คือ ภาษา ทางด้านฐานข้อมูลหรือที่เรียกกันว่า ภาษาการสืบค้นหรือค้นคืน หรือสอบถามข้อมูล (Query Language) 1. ภาษา SQL (Structured Query Language) 2. ภาษา QBE (Query – by – Example) 3. ภาษา Quel ฯลฯ
คำสั่งต่าง ๆ ของภาษา SQL จะสามารถแบ่งกลุ่มตามลักษณะการใช้งานเป็น 3 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มภาษา เพื่อการนิยามข้อมูล (Data Definition Language : DDL) 2. กลุ่มภาษาเพื่อการจัดการข้อมูล (Data Manipulation Language: DML) 3. กลุ่มภาษาเพื่อใช้ในการควบคุมข้อมูล (Data Control Language: DCL)
กลุ่มภาษาเพื่อการนิยามข้อมูล (DDL) - กลุ่มคำสั่งที่ใช้สำหรับการกำหนดโครงสร้างของฐานข้อมูลในแต่ละ Entity - มี Attribute อะไรบ้าง - ประเภทของ Attribute จะเป็นชนิดใด มีความกว้างของข้อมูลเท่าใด - โครงสร้างของฐานข้อมูลมีชื่อว่า “Schema” - ใช้ในการกำหนดการเพิ่ม ลด เปลี่ยนแปลง Attribute • ใช้ในการกำหนด สิทธิการใช้งาน ให้กับผู้ใช้ - การกำหนดถึง Integrity Rules - : สร้าง Entity ที่มีชื่อ ว่า INVENTORY
กลุ่มภาษาเพื่อการนิยามข้อมูล (DDL) • อะไรที่ออกแรงน้อย ใช้เวลาน้อย แล้วผลมากๆ นั่นเรียกว่า ทำงานได้ฉลาด • มีพลังงานขนาดกระป๋องโค้ก • สามารถแปลงให้เป็นพลังงานแสงได้ขนาดเท่าดวงดาว แบบนี้เรียกว่าฉลาด • คน 2 คนเดินทางไปโรบินสันชลบุรี • คนแรกใช้เวลาเดินทาง 3 ชั่วโมงผ่านสุขุมวิท • คนที่สอง ใช้เส้นทางเมืองใหม่ ใช้เวลาเดินทาง 30 นาที ไปทางลัดแบบนี้ฉลาด • การทำธุรกิจก็ได้ เช่น มีเงิน 100 บาท เอาไปลงทุนใช้เวลา 10 วันแล้วได้กำไรกลับมา 1 ล้านบาทแล้วไม่ผิดศีลธรรมแบบนี้เรียกว่าฉลาด • แล้วเราจะออกแบบหน้าจอโปรแกรมของเราใช้ฉลาดได้อย่างไร
กลุ่มภาษาเพื่อการนิยามข้อมูล (DDL) - : สร้าง Entity ที่มีชื่อ ว่า INVENTORY CREATE TABLE INVENTORY Product_ID CHAR(8)NOT NULL, Pro_DESCRIPT CHAR(35), Stock_DateDate, On_HandSMALLINT, MIN_QUANT SMALLINT, PRICE DECIMAL(7,2), V_CODE SMALLINT, PRIMARY KEY (Product_ID), FOREIGN KEY (V_CODE) REFERENCE VENDOR);
กลุ่มภาษาเพื่อการจัดการข้อมูล (DML) - กลุ่มคำสั่งที่ใช้ในการจัดการข้อมูลในฐานข้อมูล - แสดงผลตามรูปแบบที่ต้องการ โดยมีไวยากรณ์ โครงสร้างของคำสั่ง (Syntax Diagram) SELECT attribute name (s) FROM table name (s) WHERE condition criteria is mete;
ตัวอย่างการเขียนคำสั่งเพื่อการจัดการข้อมูลตามภาษา SQL SELECT FirstName, Lastname, Telephone FROM Employee;
ตัวอย่างการเขียนคำสั่งเพื่อการจัดการข้อมูลตามภาษา SQL คำอธิบาย: - เลือกAttribute ชื่อ นามสกุล และเบอร์โทรคัพท์จาก ตารางหรือRelation ที่ชื่อว่า Employee SELECT * FROM Employee WHERE PayRate < 560; คำอธิบาย: - เลือกAttributeทั้งหมด - จากตารางหรือRelationที่ชื่อว่า Employee - ให้แสดงเฉพาะพนักงานที่มีอัตราค่าจ่างน้อยกว่า 560 บาทเท่านั้น
กลุ่มภาษาเพื่อใช้ในการควบคุมข้อมูล (DCL) - ใช้สำหรับการควบคุมและรักษาความปลอดภัยของข้อมูลบนฐานข้อมูล - ให้สิทธิในการใช้งานฐานข้อมูล เช่น การเพิ่ม การแก้ไข หรือการลบข้อมูลใน ฐานข้อมูลได้
ระบบการจัดการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์( Relational Database Management System: RDBMS - จะแสดงการเก็บข้อมูลในรูปของตารางหรือRelation ซึ่งเป็นรูปแบบที่ง่ายต่อการเข้าใจ - สามารถตอบสนองต่อการค้นคืนหรือสอบถามที่ซับซ้อนได้ดีกว่ารูปแบบฐานข้อมูลประเภทอื่นๆ
กฎที่เกี่ยวข้องกับ Keyในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ กฎความบูรณภาพของ Entity (The Entity Integrity Rule) - ค่าของข้อมูลของAttribute ที่เป็นKeyหลักจะเป็น ค่าว่าง (Null Value)ไม่ได้ - “ ค่าว่าง ”หมายถึง ไม่ทราบค่าที่แน่นอนหรือไม่มีค่าแสดงอยู่ในAttributeนั้น กฎความบูรณภาพของการอ้างอิง (The Referential Integrity Rule) - Keyนอก (Foreign Key) จะต้องสามารถอ้างอิงได้ตรงกันกับค่าของKeyหลัก (Primary Key) ของอีกตารางหรือ Relation หนึ่งเสมอ
กฎที่เกี่ยวข้องกับ Key ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ กฎของคีย์นอก (The Foreign Key Rule) 1. ค่าของคีย์ K เป็นค่าว่าง (Null) ได้หรือไม่ - ขึ้นอยู่กับกฎเกณฑ์ในการออกแบบฐานข้อมูลว่า มีข้อกำหนดอย่างไร - ซึ่งเป็นไปตามนโยบายของหน่วยงานนั้นๆ 2. กรณีที่มีการลบหรือแก้ไข จะทำการลบ หรือ แก้ไขข้อมูลได้หรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับการ ออกแบบฐานข้อมูลว่าได้ มีคุณสมบัติอย่างไร
กฎที่เกี่ยวข้องกับ Key ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ • การลบหรือแก้ไขข้อมูลแบบมีข้อจำกัด (Restricted) - ข้อมูลของ Key หลักในอีกตารางหรือ Relation หนึ่งในอีกตารางหรือ Relation หนึ่งไม่มีข้อมูล ที่ถูกอ้างอิง - Key นอกของอีกตารางหรือ Relation หนึ่ง จะแก้ไขหรือลบได้ก็ต่อเมื่อไม่มีพนักงานคนใด สังกัดอยู่ในแผนกนั้นแล้ว
กฎที่เกี่ยวข้องกับ Key ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ การลบหรือแก้ไขข้อมูลแบบลูกโซ่ (Cascade) - การลบหรือแก้ไขข้อมูลของ Key หลักในตาราง หรือ Relation หนึ่ง - จะทำการลบหรือแก้ไขข้อมูลของ Key นอก ให้อีก ตารางหรือRelation หนึ่งที่อ้างอิงถึงข้อมูลของ Key หลักที่ ถูกลบหรือแก้ไขให้ด้วย การลบหรือแก้ไขข้อมูลโดยเปลี่ยนเป็นค่าว่าง (Nullify) - จะทำได้ต่อเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงค่าของ Key นอกในข้อมูลที่ถูกอ้างอิงถึงให้เป็นค่าว่างเสียก่อน
ความสัมพันธ์ระหว่าง Entity( Cardinality ) - เป็นการแสดงถึงเกี่ยวข้องระหว่างEntityหนึ่งไปมีความสัมพันธ์กับอีก Entity อื่น - ใช้ Key ต่างๆ จะเป็น Primary Key Secondary Key Foreign Key - เป็นตัวเชื่อมโยงความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้น เพื่อให้ฐานข้อมูลใช้งานได้ง่ายและไม่ให้เกิดความซ้ำซ้อน แบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ประกอบด้วย 1.ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง ( One – to – One ) 2.ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม ( One – to – Many ) 3.ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม ( Many – to – Many )