1.35k likes | 1.61k Views
การประชุมคณะกรรมการสถิติ กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง ครั้งที่ 1/2557 วันจันทร์ที่ 7 กรกฎาคม 2557 เวลา 09.30 น. ณ ห้องประชุมมรุพงษ์ศิริพัฒน์ ชั้น 4 ศาลากลางจังหวัดฉะเชิงเทรา. ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุม
E N D
การประชุมคณะกรรมการสถิติกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง ครั้งที่ 1/2557วันจันทร์ที่ 7 กรกฎาคม 2557 เวลา 09.30 น.ณ ห้องประชุมมรุพงษ์ศิริพัฒน์ ชั้น 4 ศาลากลางจังหวัดฉะเชิงเทรา
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ • ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุม • ระเบียบวาระที่ 3เรื่องเพื่อทราบ • 3.1 ความเป็นมา และแนวทางการดำเนินงานโครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด / 18 กลุ่มจังหวัด • 3.2 สรุปประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง • ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา • 4.1 การเลือกชุดข้อมูลสำคัญ : ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ(Product Champion) / ประเด็นปัญหาสำคัญ(Critical Issue)และการพัฒนาห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) ตามประเด็นยุทธศาสตร์ • 4.2 ผังสถิติทางการ (Data Mapping) / ชุดข้อมูลที่สำคัญและจำเป็น (Data List) • 4.3ช่องว่างการพัฒนาข้อมูล (Data Gap Analysis) และแนวทางการพัฒนาข้อมูล • ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ : (ถ้ามี) วาระการประชุมคณะกรรมการสถิติกลุ่มจังหวัด
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานประชุม- ไม่มี เนื่องจากเป็นการประชุมครั้งแรก -
ระเบียบวาระที่ 3เรื่องเพื่อทราบ3.1ความเป็นมา และแนวทางการดำเนินงานโครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด / 18 กลุ่มจังหวัด
โครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดโดย สำนักงานสถิติแห่งชาติ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ วัตถุประสงค์หลักของโครงการ บูรณาการข้อมูลสารสนเทศระดับพื้นที่เพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด สนับสนุนการตัดสินใจเชิงพื้นที่ พัฒนาสมรรถนะของบุคลากรด้านสถิติขององค์กรภาครัฐ ให้มีความเป็นมืออาชีพด้านข้อมูลสถิติและสารสนเทศ ร่างแผนพัฒนาสถิติจังหวัด เพื่อการตัดสินของประเด็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด ได้แก่ ข้อมูลในการบริหารจัดการ Product Champion ที่ได้รับการเลือก อาทิ ข้อมูลพื้นฐาน ปัจจัยสู่ความสำเร็จ และตัวชี้วัด (KPI) ฯลฯ ผลผลิตหลักของโครงการ
โครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดโดย สำนักงานสถิติแห่งชาติ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ภาคเหนือตอนบน 2 น่าน พะเยา เชียงราย น่าน ภาคเหนือตอนบน 1 เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำพูน ลำปาง ภาคอีสานตอนบน 1 อุดรธานี หนองคาย เลย หนองบัวลำภู บึงกาฬ ภาคเหนือตอนล่าง 1 พิษณุโลก ตาก สุโขทัย อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ ภาคอีสานตอนบน 2 สกลนคร นครพนม มุกดาหาร ภาคเหนือตอนล่าง 2 กำแพงเพชร พิจิตร นครสวรรค์ อุทัยธานี ภาคอีสานตอนกลาง ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ในระยะที่ผ่านมา สำนักงานสถิติ แห่งชาติได้ดำเนินการพัฒนาระบบสถิติเชิงพื้นที่ รองรับการพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่อง โดยให้ความสำคัญในการเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของกลุ่มจังหวัด จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด ภาคกลางตอนบน 2 ลพบุรี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง ภาคอีสานตอนล่าง 2 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ ภาคกลางตอนล่าง 1 กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม ภาคอีสานตอนล่าง 1 นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ ภาคกลางตอนล่าง ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว นครนายก สมุทรปราการ ภาคกลางตอนล่าง 2 สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ 2555 2556 2557 ภาคตะวันออก ชลบุรี ระยอง จันทยุรี ตราด นำร่อง 10 จังหวัด นำร่อง 2 กลุ่มจังหวัด พัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด / 18 กลุ่มจังหวัด ภาคกลางตอนบน 1 อยุธยา สระบุรี ปทุมธานี นนทบุรี ภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย สุราษฎร์ธานี ชุมพร นครศรีธรรมราช พัทลุง ภาคใต้ฝั่งอันดามัน พังงา ระนอง ภูเก็ต กระบี่ ตรัง ภาคใต้ชายแดน สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส
โครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดโดย สำนักงานสถิติแห่งชาติ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
โครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดโดย สำนักงานสถิติแห่งชาติ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ยกระดับคุณภาพข้อมูลเพื่อการตัดสินใจระดับจังหวัดให้มีมาตรฐานทางวิชาการ ผลประโยชน์ที่คาดว่าจังหวัด และกลุ่มจังหวัดจะได้รับ สนับสนุนการรายงานการวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ตามประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดให้กับผู้ว่าราชการจังหวัดและสำนักงานจังหวัด สร้างมาตรฐานการทำงานร่วมกันระหว่างกลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานจังหวัด และสำนักงานสถิติจังหวัด “…สำนักงานสถิติแห่งชาติ ประสานกับหน่วยงานในการสร้างเครือข่ายสถิติ เพื่อให้ได้มาซึ่งฐานข้อมูลสถิติที่สำคัญและเป็นปัจจุบันของประเทศ...”
ระเบียบวาระที่ 3เรื่องเพื่อทราบ3.2สรุปประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง
วิเคราะห์ศักยภาพกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลางวิเคราะห์ศักยภาพกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง โครงสร้างทางเศรษฐกิจพ.ศ.2554 ผลิตภัณฑ์มวลรวมกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง ประจำปี 2554 ณ ราคาประจำปี • มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม 1,089,246 ล้านบาท เป็นลำดับที่ 2 ของ 18 กลุ่มจังหวัด ประชากรมีรายได้เฉลี่ยต่อหัว 326,872 บาท • โครงสร้างการผลิต • ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สมุทรปราการ มีแนวโน้มไปสู่ภาคอุตสาหกรรม • นครนายก สระแก้ว แนวโน้มเป็นภาคเกษตรกรรมภาคอุตสาหกรรม มีโรงงาน 10,325 โรงงาน ในปี 2554 และ 10,588 โรงงาน ในปี 2555 เพื่มขึ้น 2.854% เกษตรกรรม ปลูกข้าว 3,473,252 ไร่ ในปี 2554 ในปี 2555 ลดลง 2.10% คงเหลือ 3,400,197 ไร่ ปลูกมันสำปะหลัง 1,191,256 ไร่ ในปี 2554 และ ปี 2555 926,754 ไร่ ลดลง 22.20%ปศุสัตว์ เลี้ยงไก่ไข่ ในปี 2554 จำนวน 15,526,816 ตัว ในปี 2555 จำนวน 15,587,426 ตัว เพิ่มขึ้น 0.39% ที่มา: แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง 4 ปี พ.ศ. 2558-2561
สระแก้ว • เมืองแห่งพืชพลังงาน • (Energy Green City)** ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ • เมืองการค้าชายแดนและ • ศูนย์กลางโลจิสติกส์* • อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ ** • อุตสาหกรรมเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการส่งออก* (Eco - Industrial Town) • ศูนย์กลางการผลิตและขนส่งในภาคตะวันออกเชื่อมโยงประชาคมอาเซียน (logistic hub) ** กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลางGateway to the World* “ประตูสู่การค้าโลก” • เพิ่มประสิทธิภาพผลผลิตมะม่วง ** • ฐานอุตสาหกรรม และศูนย์กลางการขนส่งและกระจายสินค้า** • ท่องเที่ยวนิเวศและวัฒนธรรม ** • ศูนย์กลางการค้าการลงทุน การคมนาคม และการค้าภาคตะวันออกของไทยสู่อินโดจีนและตลาดโลก** • แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ วัฒนธรรมและประวัติศาสตร์* • แหล่งผลิตสินค้าเกษตรมาตรฐานสากล* นครนายก ปราจีนบุรี • ท่องเที่ยวชุมชน* • เมืองน่าอยู่** • เมืองอุตสาหกรรมสีเขียว* • สังคมแห่งปัญญาและการเรียนรู้ (Knowledge Base Society)* • เมืองท่องเที่ยว** • จังหวัดอัจฉริยะ • ต้นแบบ Smart Country Silicon Valley** • ศูนย์สุขภาพและอาหารปลอดภัย** วิเคราะห์ศักยภาพกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง ได้กำหนดตำแหน่งยุทธศาสตร์ Gateway to the World “ประตูสู่การค้าโลก” • ศูนย์กลางการค้าการลงทุน การคมนาคม และการค้า • ภาคตะวันออกของไทยสู่อินโดจีนและตลาดโลก • พัฒนาโครงข่าย Logistics ปรับปรุงทางหลวงและเส้นทางคมนาคมที่สำคัญ • พัฒนาจุดผ่อนปรนเพื่อรองรับการยกระดับจุดผ่านแดนถาวร • จัดตั้งศูนย์ข้อมูลเพื่อการค้าการลงทุนและการท่องเที่ยว • นครนายก Smart Country Silicon Valley • ศูนย์ทดสอบยานยนต์ • แหล่งผลิตสินค้าเกษตรมาตรฐานสากล • การเตรียมความพร้อมภาคเกษตรสู่ประชาคมอาเซียน • ส่งเสริมการรวมกลุ่มสถาบันเกษตรกร • เพิ่มช่องทางการตลาดสินค้าเกษตรปลอดภัย • แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ วัฒนธรรม • และประวัติศาสตร์ • พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ วัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ให้มีมาตรฐาน • ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ที่มา: แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง 4 ปี พ.ศ. 2558-2561
วิเคราะห์ศักยภาพกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลางวิเคราะห์ศักยภาพกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง สถานการณ์ทางสังคม สาธารณสุข อัตราการเข้าเรียนของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง ในปี 2555 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 82,803 คน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 51,683 คน โดยจังหวัดที่มีจำนวนนักเรียนมากที่สุดคือ จังหวัดสมุทรปราการ มีจำนวนนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 44,329 คน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 27,945 คน รองลงมาคือ จังหวัดฉะเชิงเทรา มีจำนวนนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 22,535 คน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 3,452 คน เนื่องจากเป็นจังหวัดที่มีโรงงานอุตสาหกรรมเป็นจำนวนมาก ทำให้มีจำนวนประชากรแฝงที่เป็นแรงงานในโรงงานอุตสาหกรรมมากขึ้นตามไปด้วย จึงส่งบุตรหลานเข้าเรียนในโรงเรียนตามจังหวัดดังกล่าว การศึกษา ด้านสุขอนามัยของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง ในปี 2555 มีโรงพยาบาล จำนวน 57 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล จำนวน 446 แห่ง โดยจังหวัดสมุทรปราการ มีโรงพยาบาลเพียง 5 แห่ง และ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล จำนวน 68 แห่ง แต่ต้องดูแลประชากรแฝงทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ที่เข้ามาประกอบอาชีพขายแรงงานในภาคอุตสาหกรรมในพื้นที่ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม • คุณภาพของแหล่งน้ำ • คุณภาพน้ำบางแห่งของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง เริ่มเสื่อมโทรมลงโดยเฉพาะแม่น้ำ ช่วงที่ไหลผ่านชุมชนเช่น อ.บางคล้า จ.ฉะเชิงเทรา อ.เมือง จ.นครนายก และ อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี รวมทั้งบริเวณอุตสาหกรรมได้แก่ อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี ตลอดจน อ.พระประแดง อ..เมือง และ อ.พระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ รวมทั้งบริเวณที่ไหลผ่านพื้นที่ทำการเกษตรด้วยเช่นกัน ได้แก่ ฟาร์มกุ้งริมแม่น้ำตั้งแต่บริเวณปากแม่น้ำจนถึง อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา และฟาร์มสุกร บริเวณฝั่งซ้ายของแม่น้ำ บางปะกงในเขต อ.เมือง และ อ.บางคล้า จ.ฉะเชิงเทรา • ขยะและกากของเสียอันตราย • กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง มีปริมาณกากของเสียอันตราย ปี 2556 โดยเฉลี่ย จำนวน173,895 ตัน/ปี สูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ ซึ่งมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 167,276 ตัน/ปี จังหวัดที่มีปริมาณขยะสูงสุดสูงสุด ได้แก่จังหวัดสมุทรปราการจำนวน416,872ตัน/ปี รองลงมาได้แก่จังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน 161,885 ตัน/ปี จังหวัดสระแก้ว จำนวน 125,984 ตัน/ปี จังหวัดปราจีนบุรี จำนวน 123,816 ตัน/ปี และจังหวัดนครนายก จำนวน 55,919 ตัน/ปี ซึ่งมีบางส่วนที่ไม่ถูกนำไปกำจัดอย่างถูกวิธีหรือลักลอบนำไปทิ้งในที่สาธารณะก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมตามมา กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง มีคดีอาชญากรรม ได้แก่ คดีอุกฉกรรจ์และสะเทือนขวัญ คดีประทุษร้ายต่อชีวิตร่างกายและเพศ คดีประทุษร้ายต่อทรัพย์ คดีที่น่าสนใจ และคดีที่รัฐเป็นผู้เสียหาย ในปี 2555 จำนวน 40,511 คดีต่อจำนวนประชากร 9,775,258 คน ปรากฏว่าจังหวัดสมุทรปราการมีคดีสูงสุดถึง 20,167 คดี คิดเป็นร้อยละ 50 ของคดีทั้งหมด จะเห็นได้ว่าจังหวัดที่มีความเจริญทางด้านอุตสาหกรรม มีแนวโน้มคดีสูง ความปลอดภัยในชีวิต ที่มา: แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง 4 ปี พ.ศ. 2558-2561
กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง : ผลการทบทวนสภาวะแวดล้อม (SWOT) W S ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีแนวโน้มเสื่อมโทรมลง เนื่องจากการขยายตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ระบบโครงสร้างพื้นฐานไม่เพียงพอในการให้บริการ เกษตรกรยังขาดปัจจัยสนับสนุนในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ระบบอุตสาหกรรมยังขาดการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีด้วยตนเอง ขาดการพัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน พื้นที่ฐานการผลิตอุตสาหกรรมที่สำคัญของประเทศ แหล่งการเกษตรกรรมที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติและประวัติศาสตร์ เป็นพื้นที่เขตเศรษฐกิจชายแดน O พัฒนาไปสู่การเป็นฐานการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมที่มีมูลค่าสูง ภาคเกษตรจะปรับตัวไปสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มเพื่อการบริโภค การส่งออก และพืชพลังงานมากขึ้น การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และประวัติศาสตร์ การพัฒนาการค้าและการลงทุนกลุ่มจังหวัดคู่แฝดไทย- กัมพูชา รูปแบบการคมนาคมขนส่งมีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปสู่การขนส่งที่ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูง ศูนย์กลางการค้าการขนส่งเชื่อมโยงระเบียงเศรษฐกิจตอนใต้ และประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) T • ภาวะภัยแล้ง การขาดแคลนน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค และการเพาะปลูก • ภาวะน้ำท่วม จากน้ำป่าไหลหลากในเขตที่ราบเชิงเขาและน้ำท่วมขังที่ราบสองฝั่งแม่น้ำบางปะกง-ปราจีนบุรี • ภาวะขยะ ของเสียที่เกิดจากภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตรกรรม และภาคครัวเรือน ซึ่งนับวันจะมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น ทำให้เกิดมลพิษทางสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะกากอุตสาหกรรมที่เป็นพิษ • กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการค้าของประเทศเพื่อนบ้านยังมีความแตกต่าง
ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง พ.ศ. 2558 - 2561 วิสัยทัศน์ : “ศูนย์กลางการค้าการลงทุนแห่งอินโดจีน ฐานการผลิตอุตสาหกรรมก้าวหน้าระดับประเทศ แหล่งผลิตสินค้าเกษตรมาตรฐานสากล เส้นทางท่องเที่ยวธรรมชาติและวัฒนธรรม” ประเด็นยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบโลจิสติกส์เพื่อเป็นศูนย์กลางการค้าการลงทุนภาคตะวันออกของอินโดจีนและรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว สินค้า และบริการ ให้ได้มาตรฐาน โดยคำนึงถึงชุมชนและสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาปัจจัยการผลิตและระบบโครงสร้างพื้นฐานทางการเกษตรให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ (ZONING) เพื่อให้สินค้าเกษตรได้มาตรฐานสากล เชื่อมโยงตลาดรองรับการค้าเสรี ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาเทคโนโลยีและยกระดับมาตรฐานฝีมือแรงงานสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการลงทุนเพื่อรองรับการเติบโตทางอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป้าประสงค์ 1. เป็นศูนย์กลางการค้า การลงทุน และการขนส่งภาคตะวันออกของอินโดจีนที่พร้อมด้วยระบบโครงสร้างพื้นฐาน การคมนาคมขนส่งและสิ่งอำนวยความสะดวก พร้อมทั้งบุคลากรศักยภาพสูง และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ 1. ยกระดับคุณภาพสิ่งแวดล้อม มาตรฐานสินค้าและบริการการท่องเที่ยว และมีระบบขนส่งที่สะดวกรวดเร็วเพื่อรองรับการเติบโตของการท่องเที่ยว 2. เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีเรื่องราว (Story) และมีการเชื่อมโยงเส้นทางท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และวัฒนธรรมภายในกลุ่มจังหวัด มีศักยภาพทางการตลาดและการประชาสัมพันธ์อย่างมีประสิทธิภาพ 1. ผลผลิตทางการเกษตรปลอดภัย ได้มาตรฐาน มีคุณภาพ และมูลค่าเพิ่มขึ้น สอดคล้องกับความต้องการของตลาดและมีศักยภาพการแข่งขัน 2. เกษตรกรมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี และมีเครือข่ายที่เข้มแข็งเพื่ออำนาจทางการตลาด 1. เป็นฐานการผลิตอุตสาหกรรมที่มีมาตรฐานและศักยภาพที่พร้อมสรรพด้วยโครงสร้างพื้นฐาน แรงงานฝีมือ ระบบขนส่ง และการใช้นวัตกรรมเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มอย่างต่อเนื่อง 2. เป็นแหล่งอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : พัฒนาระบบโลจิสติกส์เพื่อเป็นศูนย์กลางการค้าการลงทุนภาคตะวันออกของอินโดจีนและรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ : การขนส่งและกระจายสินค้า การกระจายตัวของโรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ จะตั้งอยู่ตามแนวถนนสายหลัก สำหรับจังหวัดฉะเชิงเทรามีการตั้งโรงงานอุตสาหกรรมตามแนวถนนทางหลวงหมายเลข 34 และ 304 ในขณะที่จังหวัดปราจีนบุรีมีการตั้งโรงงานอุตสาหกรรมตามแนวถนนทางหลวงหมายเลข 304 ซึ่งเป็นเส้นแนวถนนที่เชื่อมโยงต่อเนื่องจากฉะเชิงเทรา และตามแนวถนนทางหลวงหมายเลข 33 ในปัจจุบันตลอดแนวถนนทางหลวงหมายเลข 304 มีนิคมอุตสาหกรรมตั้งอยู่ 4 แห่ง คือ 1) นิคมอุตสาหกรรมแปลงยาว (เกตเวย์ ซิตี้) อำเภอแปลงยาว 2) นิคมอุตสาหกรรม 304 อินดัสเตรียลปาร์ค 2 อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา 3) นิคมอุตสาหกรรม 304 อินดัสเตรียลปาร์ค อำเภอศรีมหาโพธิ์ และ 4) นิคมอุตสาหกรรมกบินทร์บุรี อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี สำหรับในจังหวัดสมุทรปราการ มีจำนวนโรงงานอุตสาหกรรมตั้งอยู่หนาแน่นในเกือบทุกตำบล ในขณะที่จังหวัดสระแก้ว และจังหวัดนครนายกมีโรงงานอุตสาหกรรมไม่มากนัก ส่วนใหญ่จะตั้งอยู่ตามแนวถนนทางหลวงหมายเลข 33 • ภาคอุตสาหกรรมมีแนวโน้มขยายตัวมากขึ้น ในปี 2554 มีโรงงานอุตสาหกรรม จำนวน 10,325 โรง แต่ในปี 2555 มีโรงงานอุตสาหกรรม จำนวน 10,588 โรง ซึ่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.54 มูลค่าการค้าชายแดนไทย-กัมพูชา (ด่านศุลกากรอรัญประเทศ) ล้านบาท • มูลค่าการค้าชายแดนไทย-กัมพูชา เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยปี 2555 มีมูลค่า 52,511.62 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2554 มูลค่า 39,182.18 ที่มา: แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง 4 ปี พ.ศ. 2558-2561
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : พัฒนาระบบโลจิสติกส์เพื่อเป็นศูนย์กลางการค้าการลงทุนภาคตะวันออกของอินโดจีนและรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ : การขนส่งและกระจายสินค้า โครงสร้างพื้นฐาน รถไฟ ท่าเรือ มีเส้นทางรถไฟรางเดี่ยว จำนวน 2 เส้นทางหลัก คือ เส้นทางที่เชื่อมโยงกับพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก และเส้นทางที่ไปยังจังหวัดสระแก้ว นอกจากนี้ยังมีโครงการรถไฟรางคู่ขึ้น 2 สาย คือ ฉะเชิงเทรา-ศรีราชา-แหลมฉบัง ระยะทาง 78 กิโลเมตร และสายคลองสินเก้า-แก่งคอย ระยะทาง 82 กิโลเมตร ซึ่งจะช่วยเสริมบทบาทการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ (Logistics) ให้กับจังหวัดฉะเชิงเทราที่จะเชื่อมโยงกับกรุงเทพฯ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลางตอนบน ภาคตะวันออก และท่าเรือแหลมฉบัง การคมนาคมขนส่งทางน้ำในพื้นที่กลุ่มจังหวัด ส่วนมากจะเกี่ยวกับการขนส่งสินค้า การประมง โดยมีการเชื่อมโยงการคมนาคมขนส่งทางน้ำกับจังหวัดที่มีทางออกสู่ทะเล คือ จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดฉะเชิงเทรา และมีการขนถ่ายสินค้าต่อไปยังท่าเรือที่ขนส่งระหว่างประเทศ ถนน เครื่องบิน กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลางมีระบบถนนสายสำคัญหลายสาย ได้แก่ ทางหลวงแผ่นดินสายประธาน เป็นถนนที่เชื่อมโยงระหว่างภาคและระหว่างจังหวัด ซึ่งเป็นเส้นที่มีปริมาณจราจรมากและใช้ความเร็วสูง เขตทางกว้าง 40-60 ประกอบด้วย ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3,33,304 และ 305 ทางหลวงแผ่นดินสายรอง เป็นทางหลวงชนิด 2 ช่องจราจร ที่เชื่อมโยงระหว่างจังหวัดกับอำเภอ หรืออำเภอกับอำเภอ และพื้นที่ใกล้เคียง มีปริมานการจราจรค่อนข้างมากใช้ความเร็วสูง เขตทางกว้าง 20–40 เมตร ได้แก่ ทางหลวงหมายเลข 314,315,317,319,331,348 และ 359 และทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (ทางพิเศษหมายเลข 7) เป็นทางหลวงระดับดิน ชนิด 4 ช่องจราจร มีท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ ในเขตอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ มีนโยบายระดับประเทศกำหนดให้เป็นท่าอากาศยานหลักของประเทศ และเป็นศูนย์กลางการบินในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งเป็นตัวจักรสำคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนา
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : พัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว สินค้าและบริการให้ได้มาตรฐาน โดยคำนึงถึงชุมชนและสิ่งแวดล้อม ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ :การท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ • กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลางมีแหล่งท่องเที่ยวที่มีศักยภาพหลายแห่ง เช่น อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ อุทยานแห่งชาติทับลาน ซึ่งเป็นแหล่งโอโซนอันดับ 7 ของโลก อุทยานแห่งชาติตาพระยา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของมรดกโลก และอุทยานแห่งชาติปางสีดา พื้นที่รวม 1.9 ไร่ • กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลางควรจะให้ความสำคัญกับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และประวัติศาสตร์ โดยเฉพาะอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่-ทับลาน ในพื้นที่ตอนบนของจังหวัดนครนายก ปราจีนบุรี และสระแก้วซึ่งเป็นที่สนใจของนักท่องเที่ยวด้านธรรมชาติ นอกจากนี้ยังมีโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร์ ปราจีนบุรี และโรงพยาบาลวัฒนานครสระแก้ว เป็นศูนย์กลางการค้นคว้าและวิจัยด้านการแพทย์แผนไทยซึ่งจะสนับสนุนการท่องเที่ยวในด้านการฟื้นฟูสุขภาพ และการแพทย์แผนไทยได้เป็นอย่างดี สำหรับแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ในจังหวัดสระแก้ว จะเชื่อมโยงกับนครวัต นครธมในกัมพูชาผ่านเส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 33 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทาง Southern Economic Corridor แต่อย่างไรก็ดี การบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวยังขาดประสิทธิภาพ บางแห่งเริ่มเสื่อมโทรม ยังไม่มีการจัดทำมาตรฐานสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยว
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : พัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว สินค้าและบริการให้ได้มาตรฐาน โดยคำนึงถึงชุมชนและสิ่งแวดล้อม ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ :การท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ • จากสถิตด้านการท่องเที่ยว ปี 2555 มีนักท่องเที่ยวและผู้มาเยี่ยมเยือน จำนวน 9,601,051 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 51.08 รายได้จากการท่องเที่ยว เป็นเงิน 17,426,.26 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 49 การจำหน่ายสินค้า OTOP มีมูลค่า 7,169.18 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.07 สถิติการจำหน่ายสินค้า OTOP รายจังหวัดของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง ปี 2553 - 2555 รายได้จากการท่องเที่ยวรายจังหวัดของ กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง ปี 2551 - 2555 จำนวนนักท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัด ภาคกลางตอนกลาง ปี 2551 - 2555 ล้านบาท ล้านบาท ที่มา: แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง 4 ปี พ.ศ. 2558-2561
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 :พัฒนาปัจจัยการผลิตและระบบโครงสร้างพื้นฐานการเกษตรให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ เพื่อให้ได้มาตรฐานสากลฯ ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ :ข้าวปลอดภัย พื้นที่เพาะปลูกพืชไร่รายจังหวัดของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง • เป็นแหล่งผลิตข้าวที่สำคัญ โดยมีพื้นที่เพาะปลูกเกือบ 3 ล้านไร่ พืชที่ปลูกมากที่สุดในกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง ในปี 2555 คือ ข้าวนาปีประมาณ 3.39 ล้านไร่ ซึ่งปลูกมากที่ฉะเชิงเทรา 1.23 ล้านไร่ สระแก้ว 8 แสนไร่ และนครนายก 6.8 แสนไร่ ตามลำดับ • จากสถิติการปลูกพืชไร่ มีการปลูกข้าวเป็นอันดับหนึ่งของกลุ่มจ้งหวัด ที่มา: แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง 4 ปี พ.ศ. 2558-2561
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 :พัฒนาเทคโนโลยีและยกระดับมาตรฐานฝีมือแรงงานสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการลงทุนเพื่อรองรับการเติบโดทางอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประเด็นปัญหาสำคัญ : อุตสาหกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • สถานการณ์จำนวนโรงงานอุตสาหกรรมที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นมีผลต่อสภาวการณ์ด้านสิ่งแวดล้อม • ภาคอุตสาหกรรมมีแนวโน้มขยายตัวมากขึ้น ในปี 2554 มีโรงงานอุตสาหกรรม จำนวน 10,325 โรง แต่ในปี 2555 มีโรงงานอุตสาหกรรม จำนวน 10,588 โรง ซึ่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.54โดยมีมากที่สุดที่จังหวัดสมุทรปราการ ปี 2554 จำนวน 7,279 โรงงาน ปี 2555 จำนวน 7,442 โรงงาน ซึ่งเพิ่มสูงขึ้นถึงร้อยละ 2.24 และจังหวัดฉะเชิงเทรา ปี 2554 จำนวน 1,511 โรงงาน ปี 2555 จำนวน 1,563 โรงงาน ซึ่งเพิ่มสูงขึ้นถึงร้อยละ3.44 และแนวโน้มในอนาคตคาดว่าจะเพิ่มสูงขึ้น ข้อมูลจำนวนโรงงานอุตสาหกรรม ปี2554-2555
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 :พัฒนาเทคโนโลยีและยกระดับมาตรฐานฝีมือแรงงานสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการลงทุนเพื่อรองรับการเติบโดทางอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สถานการณ์ ด้านสิ่งแวดล้อม ประเด็นปัญหาสำคัญ :อุตสาหกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คุณภาพของแหล่งน้ำ • บริเวณที่คุณภาพน้ำทะเลเสื่อมโทรมมาก คือ พื้นที่อ่าวไทยตอนในบริเวณหน้าโรงงานฟอกย้อม กม. 35 จังหวัดสมุทรปราการ และบริเวณที่คุณภาพน้ำทะเลเสี่อมโทรอยู่ในพื้นที่อ่าวไทยตอนในบริเวณปากแม่น้ำสายหลัก ได้แก่ ปากแม่น้ำท่าจีน ปากแม่น้ำเจ้าพระยา และปากแม่น้ำบางปะกง • คุณภาพน้ำบางแห่งของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลางเริ่มเสื่อมโทรมลงโดยเฉพาะแม่น้ำ ช่วงที่ไหลผ่านชุมชนเช่น อ.บางคล้า จ.ฉะเชิงเทรา อ.เมือง จ.นครนายก และ อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี รวมทั้ง บริเวณอุตสาหกรรมได้แก่ อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี ตลอดจน อ.พระประแดง อ.เมือง และ อ.พระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ รวมทั้งบริเวณที่ไหลผ่านพื้นที่ทำการเกษตรด้วยเช่นกัน ได้แก่ ฟาร์มกุ้งริมแม่น้ำตั้งแต่บริเวณปากแม่น้ำจนถึง อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา และฟาร์มสุกร บริเวณฝั่งซ้ายของแม่น้ำบางปะกงในเขต อ.เมือง และ อ.บางคล้า จ.ฉะเชิงเทรา ที่มา ผลการประเมินดัชนีคุณภาพน้ำทะเลทั่วประเทศ ปี 2555 กรมควบคุมมลพิษ ที่มา แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง 4 ปี 2558-2561
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 :พัฒนาเทคโนโลยีและยกระดับมาตรฐานฝีมือแรงงานสร้างบรรยากาศ ที่เอื้อต่อการลงทุนเพื่อรองรับการเติบโดทางอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สถานการณ์ ด้านสิ่งแวดล้อม ประเด็นปัญหาสำคัญ :อุตสาหกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปัญหาน้ำเสีย ปัญหาน้ำเสียในกลุ่มจังหวัดเกิดจากสาเหตุสำคัญ 3 ส่วน ได้แก่ 1) น้ำเสียจากชุมชน ประกอบด้วยชุมชนผู้พักอาศัยริมคลองชายทะเลและคลองสาขา ซึ่งมีอยู่อย่างหนาแน่น โดยส่วนใหญ่ไม่มีระบบการบำบัดน้ำเสียของชุมชนก่อนระบายลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ 2) น้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม ประกอบด้วยน้ำเสียจากการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมจำนวนมากในพื้นที่ ซึ่งทำการทิ้งน้ำลงแหล่งธรรมชาติโดยไม่ผ่านการบำบัดตามข้อกำหนด 3) น้ำเสียจากการเกษตร ประกอบด้วยการสูบน้ำเข้า–ออก บ่อปลา–บ่อกุ้ง ซึ่งมีการชะล้างตะกอนเลนไปสะสมในแหล่งน้ำ ทั้งนี้สภาพน้ำเสียจากแหล่งชุมชน อุตสาหกรรม และการเกษตร เมื่อมีปริมาณมากและเกิดขึ้นในช่วงเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนพฤษภาคม 5 - 6 เดือน ซึ่งเป็นช่วงที่ยังไม่มีการระบายน้ำ เนื่องจากยังไม่มีปริมาณฝนตก ทำให้สภาพน้ำเสื่อมโทรมอย่างมาก จนกระทั่งเมื่อเริ่มมีปริมาณฝนตกและเริ่มดำเนินการสูบระบายน้ำ สภาพตะกอนท้องน้ำที่สะสมในช่วง 5 – 6 เดือน จึงเริ่มเคลื่อนตัวทำให้ขุ่นมัว ส่งผลต่อค่า DO เกิดการลดค่าอย่างรวดเร็ว จนเป็นเหตุให้สัตว์น้ำไม่สามารถปรับสภาพได้นั้น จึงลอยตัวและตายลงจำนวนมาก ขยะและกากของเสียอันตราย • กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง มีปริมาณกากของเสียอันตราย ปี 2556 โดยเฉลี่ย จำนวน173,895 ตัน/ปี สูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ ซึ่งมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 167,276 ตัน/ปี จังหวัดที่มีปริมาณขยะสูงสุดสูงสุด ได้แก่จังหวัดสมุทรปราการจำนวน416,872ตัน/ปี รองลงมาได้แก่จังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน 161,885 ตัน/ปี จังหวัดสระแก้ว จำนวน 125,984 ตัน/ปี จังหวัดปราจีนบุรี จำนวน 123,816 ตัน/ปี และจังหวัดนครนายก จำนวน 55,919 ตัน/ปี ซึ่งมีบางส่วนที่ไม่ถูกนำไปกำจัดอย่างถูกวิธีหรือลักลอบนำไปทิ้งในที่สาธารณะก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมตามมา ที่มา แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง 4 ปี 2558-2561
ระเบียบวาระที่ 4เรื่องเพื่อพิจารณา 4.1 การเลือกชุดข้อมูลสำคัญ :ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) / ประเด็นปัญหาสำคัญ (Critical Issue) และการพัฒนาห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) ตามประเด็นยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง พ.ศ. 2558 - 2561 วิสัยทัศน์ : “ศูนย์กลางการค้าการลงทุนแห่งอินโดจีน ฐานการผลิตอุตสาหกรรมก้าวหน้าระดับประเทศ แหล่งผลิตสินค้าเกษตรมาตรฐานสากล เส้นทางท่องเที่ยวธรรมชาติและวัฒนธรรม” ประเด็นยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบโลจิสติกส์เพื่อเป็นศูนย์กลางการค้าการลงทุนภาคตะวันออกของอินโดจีนและรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว สินค้า และบริการ ให้ได้มาตรฐาน โดยคำนึงถึงชุมชนและสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาปัจจัยการผลิตและระบบโครงสร้างพื้นฐานทางการเกษตรให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ (ZONING) เพื่อให้สินค้าเกษตรได้มาตรฐานสากล เชื่อมโยงตลาดรองรับการค้าเสรี ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาเทคโนโลยีและยกระดับมาตรฐานฝีมือแรงงานสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการลงทุนเพื่อรองรับการเติบโตทางอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป้าประสงค์ 1. เป็นศูนย์กลางการค้า การลงทุน และการขนส่งภาคตะวันออกของอินโดจีนที่พร้อมด้วยระบบโครงสร้างพื้นฐาน การคมนาคมขนส่งและสิ่งอำนวยความสะดวก พร้อมทั้งบุคลากรศักยภาพสูง และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ 1. ยกระดับคุณภาพสิ่งแวดล้อม มาตรฐานสินค้าและบริการการท่องเที่ยว และมีระบบขนส่งที่สะดวกรวดเร็วเพื่อรองรับการเติบโตของการท่องเที่ยว 2. เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีเรื่องราว (Story) และมีการเชื่อมโยงเส้นทางท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และวัฒนธรรมภายในกลุ่มจังหวัด มีศักยภาพทางการตลาดและการประชาสัมพันธ์อย่างมีประสิทธิภาพ 1. ผลผลิตทางการเกษตรปลอดภัย ได้มาตรฐาน มีคุณภาพ และมูลค่าเพิ่มขึ้น สอดคล้องกับความต้องการของตลาดและมีศักยภาพการแข่งขัน 2. เกษตรกรมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี และมีเครือข่ายที่เข้มแข็งเพื่ออำนาจทางการตลาด 1. เป็นฐานการผลิตอุตสาหกรรมที่มีมาตรฐานและศักยภาพที่พร้อมสรรพด้วยโครงสร้างพื้นฐาน แรงงานฝีมือ ระบบขนส่ง และการใช้นวัตกรรมเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มอย่างต่อเนื่อง 2. เป็นแหล่งอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
วิสัยทัศน์ “ศูนย์กลางการค้าการลงทุนแห่งอินโดจีน ฐานการผลิตอุตสาหกรรมก้าวหน้าระดับประเทศ แหล่งผลิตสินค้าเกษตรมาตรฐานสากล เส้นทางท่องเที่ยวธรรมชาติและวัฒนธรรม”
วิสัยทัศน์ “ศูนย์กลางการค้าการลงทุนแห่งอินโดจีน ฐานการผลิตอุตสาหกรรมก้าวหน้าระดับประเทศ แหล่งผลิตสินค้าเกษตรมาตรฐานสากล เส้นทางท่องเที่ยวธรรมชาติและวัฒนธรรม”
วิสัยทัศน์ “ศูนย์กลางการค้าการลงทุนแห่งอินโดจีน ฐานการผลิตอุตสาหกรรมก้าวหน้าระดับประเทศ แหล่งผลิตสินค้าเกษตรมาตรฐานสากล เส้นทางท่องเที่ยวธรรมชาติและวัฒนธรรม”
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : พัฒนาระบบโลจิสติกส์เพื่อเป็นศูนย์กลางการค้าการลงทุนภาคตะวันออกของอินโดจีนและรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กลยุทธ์ พัฒนาระบบโลจิสติกส์ที่มีคุณภาพ สะดวก รวดเร็ว เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและเชื่อมต่อกันภายในกลุ่มจังหวัดและไปสู่อินโดจีน พัฒนาศูนย์กลางและช่องทางการกระจายสินค้าเพื่อรองรับการเป็นฐานการผลิต ขนส่งและจัดจำหน่ายของอินโดจีน วางแผนการผลิตและพัฒนาบุคลากรทั้งในเชิงคุณภาพและปริมาณ เพื่อรองรับการเป็นศูนย์กลางการค้า การลงทุนของอินโดจีน พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อรองรับการค้า การลงทุนและการขนส่งที่มีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ : การขนส่งและกระจายสินค้า การบริหารจัดการสินค้า (Logistics) โครงสร้างพื้นฐานทางการค้า การลงทุน พัฒนาความพร้อมและสร้างขีดความสามารถของผู้ประกอบการ พัฒนา ด้านการตลาดและช่องทางการจัดจำหน่าย • การพัฒนาขีดทักษะความสามารถของผู้ประกอบ การโดยเฉพาะด้านภาษาอังกฤษ • การเพิ่มศักยภาพในการดำเนินธุรกิจ • การยกระดับความพร้อม ด้านเทคโนโลยี (Technology Readiness) • การส่งเสริมพัฒนาการรวมกลุ่มผู้ประกอบการค้าเพื่อการค้าระหว่างประเทศ • การสร้างผู้ประกอบการธุรกิจบริการขนส่งสินค้าเพื่อการค้าระหว่างประเทศ • การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน • การพัฒนาด่านการค้า และระบบ 0ne stop service • การพัฒนาเครือข่ายสื่อสารและระบบสารสนเทศ • พัฒนาระบบฐานข้อมูล โลจิสติกส์ • การจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้า • การพัฒนาประสิทธิภาพและลดต้นทุนการขนส่งและกระจายสินค้า • การลดอัตราการสูญเสียระหว่างขนส่ง • การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและเก็บรักษาสินค้าคงคลัง • การจัดการงานด้านศุลกากร (ส่งออก/นำเข้า)แปรรูป • การจัดกิจกรรมส่งเสริมการจำหน่ายสินค้าในต่างประเทศ • การเจรจาการค้าและทำ Business Matching
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : พัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวสินค้า และบริการ ให้ได้มาตรฐาน โดยคำนึงถึงชุมชน และสิ่งแวดล้อม กลยุทธ์ • อนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมเพื่อเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวภายในกลุ่ม • จังหวัดและภูมิภาค • 2. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) ตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ • 3. พัฒนาประสิทธิภาพ การตลาด ระบบข้อมูล บุคลากร และการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว • 4. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของกลุ่มจังหวัด
ยุทธศาสตร์ที่ 2 : ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ : การท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ dผลิตภัณฑ์สินค้าและบริการ dการตลาด การบริหารจัดการ 3 4 1 2 5 6 7 พัฒนาการตลาดและประชาสัมพันธ์ วาง ยุทธศาสตร์/แผนการท่องเที่ยว พัฒนาปัจจัย พื้นฐานด้าน ท่องเที่ยว/ทรัพยากร พัฒนาแหล่งและกิจกรรมท่องเที่ยว พัฒนาศักยภาพมัคคุเทศน์ และบุคลากร พัฒนาระบบบริหาร จัดการการท่องเที่ยว พัฒนาธุรกิจบริการการท่องเที่ยว • การรวบรวมและจัดทำข้อมูลสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยว • การกำหนดขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว (Carrying Capacity) • สร้างความเชื่อมั่นด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน • การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน องค์กรปกครองท้องถิ่น และประชาชน ในการอนุรักษ์ทรัพยากรท่องเที่ยว • พัฒนาทรัพยากรทางการท่องเที่ยว • การจัดการ • คุณภาพสิ่งแวดล้อม • เพื่อการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ถนน ไฟฟ้า • การจัดการสิ่งแวดล้อมจากที่พัก/โรงแรม อาทิ สิ่งปฏิกูล ขยะ น้ำเสีย • การพัฒนาและปรับปรุงระบบสาธารณูปโภค • การวางแผนและกำหนดตำแหน่งเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Positioning) • การกำหนดนักท่องเที่ยวกลุ่มเป้าหมาย • พัฒนาศักยภาพแรงงานวิชาชีพและบุคลากรด้านการท่องเที่ยว เพื่อรองรับการเข้าสู่ AEC • พัฒนามาตรฐานมัคคุเทศก์ท้องถิ่น/ผู้นำเที่ยว • พัฒนาศักยภาพแรงงานวิชาชีพและบุคลากรที่เกี่ยวของกับการท่องเที่ยว • ส่งเสริมการรวม กลุ่มของชุมชน ผู้ประกอบการด้านท่องเที่ยวและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง • สร้างสรรค์กิจกรรมท่องเที่ยวรูปแบบใหม่ๆ ให้สอดคล้องกับความสนใจ • ส่งเสริม/อนุรักษ์/ฟื้นฟู/ปรับปรุง/บูรณะ/พัฒนา • แหล่งท่องเที่ยว • ยกระดับคุณภาพสิ่งอำนวยความสะดวกในสถานที่ท่องเที่ยว • การรับรองมาตรฐานที่พักและโรงแรม • พัฒนามาตรฐานธุรกิจบริการที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยว • พัฒนามาตรฐานสินค้าของฝากและของที่ระลึก • พัฒนามาตรฐานธุรกิจนำเที่ยว • การทำการตลาดกลุ่มนักท่องเที่ยวคุณภาพ • ประชาสัมพันธ์สร้างภาพลักษณ์ • การตลาดเชิงรุก ผ่านสื่อสมัยใหม่ (Social Network)
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนาปัจจัยการผลิตและระบบโครงสร้างพื้นฐานทางการเกษตรให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ (ZONING) เพื่อให้สินค้าเกษตรได้มาตรฐานสากลเชื่อมโยงตลาดรองรับการค้าเสรี กลยุทธ์ 1. พัฒนาการเข้าถึงปัจจัยการผลิตและโครงสร้างพื้นฐานทางการเกษตรอย่างครบถ้วน 2. เพิ่มผลิตภาพและยกระดับมาตรฐานสินค้าเกษตร 3. เชื่อมโยงวัตถุดิบภาคเกษตรกรรมสู่การแปรรูปในภาคอุตสาหกรรมภายในกลุ่มจังหวัดเพื่อสร้าง มูลค่าเพิ่ม 4. มุ่งพัฒนาสู่เกษตรปลอดภัยที่เหมาะกับสภาพพื้นที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีมูลค่าสูง 5. ยกระดับเกษตรกรสู่ Smart Farmer และพัฒนาสถาบันเกษตรกรสู่เครือข่ายตลาดสินค้าเกษตรรองรับ การค้าเสรี
ยุทธศาสตร์ที่ 3 : ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ :ข้าวปลอดภัย dกระบวนการแปรรูป dกระบวนการค้าและการตลาด dกระบวนการผลิต การวิจัยและพัฒนา(R&D)และพัฒนาปัจจัยพื้นฐาน การพัฒนาเกษตรกรและ สถาบันเกษตรกร การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การแปรรูป และสร้าง มูลค่าเพิ่ม การขนส่ง และจัดการ บริหารสินค้า (Logistics) การพัฒนาระบบ การตลาด • ขยายการส่งเสริมการผลิตข้าวปลอดภัย • สนับสนุนเกษตรกรในระบบการผลิตข้าวปลอดภัยที่ได้มาตรฐานอย่างต่อเนื่องเกษตรกรสามารถพัฒนาคุณภาพและเพิ่มผลผลิตข้าวปลอดภัยที่ได้มาตรฐานข้าวปลอดภัยของจังหวัด และ/หรือมาตรฐาน GAP • ส่งเสริมการรวมกลุ่มสหกรณ์การเกษตร กลุ่มเกษตรกร หรือกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านการบริหารจัดการธุรกิจการเกษตรตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง • พัฒนาให้เป็นศูนย์การเรียนรู้และการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตข้าวปลอดภัยทั้งกระบวนการ • มีเครือข่ายสถาบันการเงิน/กองทุนเพื่อช่วยเหลือด้านการเงินให้เกษตรกรที่ปลูกข้าวปลอดภัย • มีระบบตลาดกลางสินค้าข้าวปลอดภัยที่ได้มาตรฐาน • มีระบบตลาดซื้อขายข้าวปลอดภัยล่วงหน้า • มีกลไกการกำหนดราคาข้าวปลอดภัยที่เหมาะสมตามคุณภาพ • มีการประชาสัมพันธ์และการส่งเสริมการขายที่เหมาะสมกับแผนการผลิตและแผนการเก็บเกี่ยว • การจัดการข้อมูลการตลาด(Market Intelligence Unit) อย่างมีประสิทธิภาพ • พัฒนาขีดความ สามารถในการแข่งขันทางการตลาด • วิจัยความต้องการข้าวปลอดภัยของตลาดภายใน ประเทศและต่างประเทศ • มีการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมและเป็นแหล่งผลิตพันธุ์ข้าวคุณภาพดี • พัฒนาปัจจัยการผลิตที่มีความปลอดภัยจากการใช้สารเคมี • วิจัยและพัฒนาระบบมาตรฐานการปลูกข้าวปลอดภัยที่เทียบเท่ามาตรฐาน GAP • ใช้เทคโนโลยีเพื่อรักษาคุณภาพข้าวปลอดภัยหลังการเก็บเกี่ยว • ผลผลิตข้าวสารหอมมะลิปลอดภัยได้รับการรับรองคุณภาพข้าวเพื่อการค้าในประเทศ ตามมาตรฐานข้าวปลอดภัยของจังหวัด หรือในกรณีที่เป็นเงื่อนไขการส่งออกให้ต้องมีมาตรฐาน GAP/ HACCP • เกษตรกรมีแผนการผลิต และแผนการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม(Crop Zoning and planning) • เกษตรกรมีความสามารถในการจัดการวัตถุดิบเหลือใช้จากการปลูกข้าวปลอดภัยให้เกิดประโยชน์ • ส่งเสริมศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าข้าวปลอดภัยในระดับจังหวัดและระดับกลุ่มจังหวัด เช่น มียุ้งฉาง หรือโกดัง หรือสถานที่รวบรวมสินค้าข้าวที่ได้มาตรฐาน(Warehouse) • ใช้ระบบการขนส่งข้าวปลอดภัยที่เหมาะสมมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพตั้งแต่แหล่งผลิตไปโรงสีชุมชน และคลังเก็บสินค้าข้าวที่ร่วมในกระบวน การผลิตข้าวปลอดภัยจนถึงตลาด • โรงสีชุมชน โรงสีสหกรณ์มีจำนวนเพียงพอและได้รับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่มาตรฐานสำหรับการสีข้าวปลอดภัยชนิดต่างๆ • ใช้เทคโนโลยีการบรรจุหีบห่อเพื่อรักษาคุณภาพและยืดอายุข้าวปลอดภัย • โรงสีชุมชนในกระบวน การผลิตข้าวปลอดภัยของจังหวัดส่วนใหญ่เป็น Zero Waste Industry เช่นโรงสีข้าวสามารถควบคุมการปล่อยของเสียได้/แกลบสามารถขายไปทำเชื้อเพลิง/รำข้าวสามารถนำไปทำน้ำมันรำข้าว • ส่งเสริมการแปรรูปผลผลิตข้าวให้เป็นผลิตภัณฑ์เอกลักษณ์ • การทำตราสินค้า (Branding) และตรารับรองคุณภาพ (Quality Mark) ผลิตภัณฑ์จากข้าวปลอดภัยที่ดึงดูด และเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดจังหวัด
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 :พัฒนาเทคโนโลยีและยกระดับมาตรฐานฝีมือแรงงานสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการลงทุน เพื่อรองรับการเติบโตทางอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กลยุทธ์ 1. พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม 2. พัฒนาทักษะฝีมือแรงงานที่ตอบสนองต่อความต้องการของภาคอุตสาหกรรม 3. การกำหนดเขตพื้นที่อุตสาหกรรมในกลุ่มจังหวัดที่เหมาะสมและวางแผนการลงทุนในอุตสาหกรรม 4. เสริมสร้างองค์ความรู้ นวัตกรรมเทคโนโลยีการผลิตในภาคอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 5. ส่งเสริมระบบการบริหารจัดการในภาคอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและพัฒนาเครือข่ายระบบ เฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ที่ 4: ประเด็นปัญหาสำคัญ : อุตสาหกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมในภาคอุตสาหกรรม สร้างความมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการที่ดี จากทุกภาคส่วน การพัฒนาระบบกำกับ ป้องกันปัญหา การติดตามประเมินผล ตรวจสอบ และควบคุมการดำเนินงาน • กำหนดและจำแนกเขตพื้นที่ปัญหาและ/หรือมีแนวโน้มที่จะเกิดปัญหาขึ้นในอนาคต • คัดเลือกมาตรการจัดการป้องกัน แก้ไข หรือฟื้นฟูพื้นที่ตามความเหมาะสม • ป้องกันพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดปัญหาซ้ำ • ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการบังคับใช้โดยเฉพาะในพื้นที่วิกฤติ - เร่งด่วน • กำหนดมาตรการเชิงรุกในการติดตามและตรวจสอบสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • จัดทำระบบประเมินผลการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการในระดับพื้นที่ • นำผลการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด เพื่อลดต้นทุน ในการผลิตและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • การสร้างจิตสำนึกรับผิดชอบของทุกภาคส่วนต่อสิ่งแวดล้อม • การพัฒนาและกระตุ้นบทบาทของภาคีเครือข่ายในการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • การจัดการสิ่งแวดล้อมของอุตสาหกรรม (การส่งเสริมการใช้ทรัพยากร และพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ) • ส่งเสริมให้ความรู้ด้านการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมแก่ภาคอุตสาหกรรม (โรงงาน)และกำหนดมาตรการจูงใจ • เพิ่มขีดความสามารถควบคุมมลพิษด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน • มาตรการจูงใจ(การประกาศเกียรติคุณ การลดภาษีท้องถิ่น)
โครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ : การขนส่งและกระจายสินค้า การบริหารจัดการสินค้า (Logistics) โครงสร้างพื้นฐานทางการค้า การลงทุน พัฒนาความพร้อมและสร้างขีดความสามารถของผู้ประกอบการ พัฒนา ด้านการตลาดและช่องทางการจัดจำหน่าย • การพัฒนาขีดทักษะความสามารถของผู้ประกอบการ โดยเฉพาะด้านภาษาอังกฤษ • การเพิ่มศักยภาพในการดำเนินธุรกิจ • การยกระดับความพร้อมด้านเทคโนโลยี (Technology Readiness) • การส่งเสริม พัฒนาการรวมกลุ่มผู้ประกอบการค้าเพื่อการค้าระหว่างประเทศ • การสร้างผู้ประกอบการธุรกิจบริการขนส่งสินค้า เพื่อการค้าระหว่างประเทศ • การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน • การพัฒนาด่านการค้าและระบบ 0ne stop service • การพัฒนาเครือข่ายสื่อสารและระบบสารสนเทศ • พัฒนาระบบฐานข้อมูล โลจิสติกส์ • การจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้า • การพัฒนาประสิทธิภาพและลดต้นทุนการขนส่งและกระจายสินค้า • การลดอัตราการสูญเสียระหว่างขนส่ง • การเพิ่มประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการ และเก็บรักษาสินค้า คงคลัง • การจัดการงานด้านศุลกากร (ส่งออก/นำเข้า)แปรรูป • การจัดกิจกรรมส่งเสริมการจำหน่ายสินค้าในต่างประเทศ • การเจรจาการค้าและทำ Business Matching
ผังสถิติทางการ : สรุปสถานะรายการข้อมูลสถิติที่สำคัญและจำเป็นต่อการขับเคลื่อนเป้าหมายของยุทธศาสตร์ โครงสร้างพื้นฐาน ทางการค้า การลงทุน 1 ยุทธศาสตร์ที่ 1 : ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ : การขนส่งและกระจายสินค้า
ผังสถิติทางการ : สรุปสถานะรายการข้อมูลสถิติที่สำคัญและจำเป็นต่อการขับเคลื่อนเป้าหมายของยุทธศาสตร์ 1 โครงสร้างพื้นฐาน ทางการค้า การลงทุน ยุทธศาสตร์ที่ 1 : ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ : การขนส่งและกระจายสินค้า
ผังสถิติทางการ : สรุปสถานะรายการข้อมูลสถิติที่สำคัญและจำเป็นต่อการขับเคลื่อนเป้าหมายของยุทธศาสตร์ พัฒนาความพร้อมและสร้างขีดความสามารถของผู้ประกอบการ 2 ยุทธศาสตร์ที่ 1 : ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ : การขนส่งและกระจายสินค้า
ผังสถิติทางการ : สรุปสถานะรายการข้อมูลสถิติที่สำคัญและจำเป็นต่อการขับเคลื่อนเป้าหมายของยุทธศาสตร์ 2 พัฒนาความพร้อมและสร้างขีดความสามารถของผู้ประกอบการ ยุทธศาสตร์ที่ 1 : ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ : การขนส่งและกระจายสินค้า
ผังสถิติทางการ : สรุปสถานะรายการข้อมูลสถิติที่สำคัญและจำเป็นต่อการขับเคลื่อนเป้าหมายของยุทธศาสตร์ 3 การบริหารจัดการสินค้า (Logistics) ยุทธศาสตร์ที่ 1 : ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ : การขนส่งและกระจายสินค้า
ผังสถิติทางการ : สรุปสถานะรายการข้อมูลสถิติที่สำคัญและจำเป็นต่อการขับเคลื่อนเป้าหมายของยุทธศาสตร์ 3 การบริหารจัดการสินค้า (Logistics) ยุทธศาสตร์ที่ 1 : ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ : การขนส่งและกระจายสินค้า
ผังสถิติทางการ : สรุปสถานะรายการข้อมูลสถิติที่สำคัญและจำเป็นต่อการขับเคลื่อนเป้าหมายของยุทธศาสตร์ 4 พัฒนา ด้านการตลาดและช่องทางการจัดจำหน่าย ยุทธศาสตร์ที่ 1 : ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ : การขนส่งและกระจายสินค้า
ยุทธศาสตร์ที่ 2 : ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ : การท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ dผลิตภัณฑ์สินค้าและบริการ dการตลาด การบริหารจัดการ 3 4 1 2 5 6 7 พัฒนาการตลาดและประชาสัมพันธ์ วาง ยุทธศาสตร์/แผนการท่องเที่ยว พัฒนาปัจจัย พื้นฐานด้าน ท่องเที่ยว/ทรัพยากร พัฒนาแหล่งและกิจกรรมท่องเที่ยว พัฒนาศักยภาพมัคคุเทศน์ และบุคลากร พัฒนาระบบบริหาร จัดการการท่องเที่ยว พัฒนาธุรกิจบริการการท่องเที่ยว • การรวบรวมและจัดทำข้อมูลสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยว • การกำหนดขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว (Carrying Capacity) • สร้างความเชื่อมั่นด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน • การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน องค์กรปกครองท้องถิ่น และประชาชน ในการอนุรักษ์ทรัพยากรท่องเที่ยว • พัฒนาทรัพยากรทางการท่องเที่ยว • การจัดการ • คุณภาพสิ่งแวดล้อม • เพื่อการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ถนน ไฟฟ้า • การจัดการสิ่งแวดล้อมจากที่พัก/โรงแรม อาทิ สิ่งปฏิกูล ขยะ น้ำเสีย • การพัฒนาและปรับปรุงระบบสาธารณูปโภค • การวางแผนและกำหนดตำแหน่งเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Positioning) • การกำหนดนักท่องเที่ยวกลุ่มเป้าหมาย • พัฒนาศักยภาพแรงงานวิชาชีพและบุคลากรด้านการท่องเที่ยว เพื่อรองรับการเข้าสู่ AEC • พัฒนามาตรฐานมัคคุเทศก์ท้องถิ่น/ผู้นำเที่ยว • พัฒนาศักยภาพแรงงานวิชาชีพและบุคลากรที่เกี่ยวของกับการท่องเที่ยว • ส่งเสริมการรวม กลุ่มของชุมชน ผู้ประกอบการด้านท่องเที่ยวและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง • สร้างสรรค์กิจกรรมท่องเที่ยวรูปแบบใหม่ๆ ให้สอดคล้องกับความสนใจ • ส่งเสริม/อนุรักษ์/ฟื้นฟู/ปรับปรุง/บูรณะ/พัฒนา • แหล่งท่องเที่ยว • ยกระดับคุณภาพสิ่งอำนวยความสะดวกในสถานที่ท่องเที่ยว • การรับรองมาตรฐานที่พักและโรงแรม • พัฒนามาตรฐานธุรกิจบริการที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยว • พัฒนามาตรฐานสินค้าของฝากและของที่ระลึก • พัฒนามาตรฐานธุรกิจนำเที่ยว • การทำการตลาดกลุ่มนักท่องเที่ยวคุณภาพ • ประชาสัมพันธ์สร้างภาพลักษณ์ • การตลาดเชิงรุก ผ่านสื่อสมัยใหม่ (Social Network)
ผังสถิติทางการ : สรุปสถานะรายการข้อมูลสถิติที่สำคัญและจำเป็นต่อการขับเคลื่อนเป้าหมายของยุทธศาสตร์ 1 วางยุทธศาสตร์/แผนการท่องเที่ยว ยุทธศาสตร์ที่ 2 : ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ : การท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ
ผังสถิติทางการ : สรุปสถานะรายการข้อมูลสถิติที่สำคัญและจำเป็นต่อการขับเคลื่อนเป้าหมายของยุทธศาสตร์ พัฒนาระบบบริหาร จัดการการท่องเที่ยว 2 ยุทธศาสตร์ที่ 2 : ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ : การท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ
ผังสถิติทางการ : สรุปสถานะรายการข้อมูลสถิติที่สำคัญและจำเป็นต่อการขับเคลื่อนเป้าหมายของยุทธศาสตร์ พัฒนาระบบบริหาร จัดการการท่องเที่ยว 2 ยุทธศาสตร์ที่ 2 : ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ : การท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ
ผังสถิติทางการ : สรุปสถานะรายการข้อมูลสถิติที่สำคัญและจำเป็นต่อการขับเคลื่อนเป้าหมายของยุทธศาสตร์ พัฒนาระบบบริหาร จัดการการท่องเที่ยว 2 ยุทธศาสตร์ที่ 2 : ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ : การท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ