100 likes | 194 Views
ระบบบริหารงานมุ่งผลสัมฤทธิ์. กรมประมง. การพัฒนาระบบบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ กรมประมงได้ดำเนินงานตามขั้นตอน ดังนี้. 1 . วิเคราะห์วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์พันธกิจ และกลยุทธ์
E N D
ระบบบริหารงานมุ่งผลสัมฤทธิ์ระบบบริหารงานมุ่งผลสัมฤทธิ์ กรมประมง
การพัฒนาระบบบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ กรมประมงได้ดำเนินงานตามขั้นตอน ดังนี้ 1. วิเคราะห์วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์พันธกิจ และกลยุทธ์ 2. กำหนดปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factors : CSFs ) และตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลัก (Key Performance Indicators : KPIs ) โดยใช้กรอบการประเมินผลสัมฤทธิ์ของส่วนราชการ 3. กำหนดค่าเป้าหมาย 4. กำหนดแหล่งข้อมูล 5. เก็บรวบรวมข้อมูล 6. บันทึกและอนุมัติข้อมูล 7. วิเคราะห์ข้อมูล 8. รายงานผล
รายงาน ผลการดำเนินงานตามระบบบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ กรมประมงได้ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน พัฒนาระบบการบริหารแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ (RBM) โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะเพิ่มประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลในการบริหารราชการ เพื่อก่อให้เกิดผลประโยชน์สูงสุดต่อประเทศชาติ สังคมและประชาชน สามารถวัดผลออกมาเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนได้ ระบบดังกล่าวพัฒนาแล้วเสร็จและมีการส่งมอบงานเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2545 จากนั้นกรมประมงก็ได้นำระบบดังกล่าวมาใช้โดยให้ทุกหน่วยงานในสังกัดถือปฏิบัติและส่งรายงานเพื่อประเมินผล
วิสัยทัศน์ กรมประมงเป็นองค์กรหลักในการวิจัยและพัฒนาด้านการประมง เพื่อการจัดการทรัพยากรประมงและการผลิตสัตว์น้ำ ให้เพียงพอต่อการบริโภคภายในประเทศ และพัฒนาเป็นสินค้าส่งออกที่มีคุณภาพ ในลักษณะการใช้ทรัพยากรประมงและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน เป้าประสงค์ 1. เพื่อให้ประชาชนมีสัตว์น้ำสำหรับใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนและเพียงพอ 2. เพื่อให้ผู้ประกอบการประมง มีขีดความสามารถในการผลิตอย่างรับผิดชอบ 3. เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจของผลผลิตสัตว์น้ำ 4. เพื่อทำให้กรมประมงเป็นที่ยอมรับในด้านการบริหารจัดการที่ดี
ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ 1.ผู้รับบริการ/ผู้เกี่ยวข้องม ความพึงพอใจในบริการของ กรมประมง 2. เกษตรกรประมงมีรายได้สูงขึ้น 3. ประชาชนบริโภคสัตวน้ำเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน 1.1 ร้อยละของผลผลิตที่เสร็จตามเวลามาตรฐาน 1.2 จำนวนข้อร้องเรียนของผู้รับบริการที่มีต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ 1.3 ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความ พึงพอใจต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ 2.1 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้ประชาชาติด้านการประมง เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา 3.1 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของปริมาณการบริโภค สัตว์น้ำต่อคนต่อปีเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จและตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลักของกรมประมง ด้านผู้มีส่วนเกี่ยวข้องภายนอกองค์กร
ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ 4. สินค้าประมงมีคุณภาพ ได้ มาตรฐานตรงตามความต้องการของตลาด 5. ทรัพยากรประมงและสิ่งแวดล้อมมีการใช้อย่างยั่งยืน ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน 4.1 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของปริมาณการส่งออกสินค้าและผลิตภัณฑ์ประมงเมื่อเทียบไตรมาสเดียวกันกับปีที่ผ่านมา 4.2 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการส่งออกสินค้าและผลิตภัณฑ์ประมง เมื่อเทียบไตรมาสเดียวกันกับปีที่ผ่านมา 5.1 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของผลผลิตมวลชีวภาพ(Biomass) และ CPUE ด้านทรัพยากรทะเลเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา 5.2 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของอัตราการผลิตต่อพื้นที่ (Standing Crop) ด้านทรัพยากรน้ำจืด เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา
ด้านผู้มีส่วนเกี่ยวข้องภายในองค์กรด้านผู้มีส่วนเกี่ยวข้องภายในองค์กร ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน 6.1 ร้อยละของผู้บริหารที่มีความพึงพอใจต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ 6.2 ร้อยละของเจ้าหน้าที่ที่มีความพึงพอใจต่อการปฏิบัติงานของตนเอง 6.3 ร้อยละของเจ้าหน้าที่ที่ได้รับการฝึกอบรมอย่างน้อย 1 หลักสูตร ต่อคนต่อปี 7.1 ร้อยละของความก้าวหน้าของการ ดำเนินการโครงการที่เป็นไปตามแผน 7.2 ร้อยละของความก้าวหน้าของการ ดำเนินงานประจำที่เป็นไปตามแผน 8.1 จำนวนครั้งของการเรียกใช้ข้อมูล 8.2 ร้อยละของผู้รับบริการข้อมูลที่พอใจกับข้อมูลสารสนเทศของกรมประมง ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ 6. มีบุคคลกรที่มีความรู้ ความสามารถ จริยธรรม ขวัญ กำลังใจ และจิตสำนึกของผู้ให้บริการสาธารณะ 7. มีการบริหารจัดการภายใน เป็นระบบที่มีประสิทธิภาพ 8. มีระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ
ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ 9. พัฒนารูปแบบและเทคโนโลยีด้านการประมงเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิต สัตว์น้ำ 10. พัฒนาผลิตภัณฑ์ประมงรูปแบบใหม่ เพื่อเพิ่มมูลค่า 11. การพัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธภาพในการบริหารและให้บริการด้านการประมง ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน 9.1 จำนวนสิ่งประดิษฐ์ รูปแบบและ เทคโนโลยี่ที่นำไปใช้จริงในสนาม 9.2 ร้อยละของความก้าวหน้าของการสร้างเทคโนโลยี 10.1 จำนวนผลิตภัณฑ์ประมงที่ได้รับการพัฒนาให้มีมูลค่าเพิ่มมากขึ้น 11.1 ร้อยละของความก้าวหน้าของการ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านนวัตกรรม
ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ 12. การใช้จ่ายงบประมาณเป็นไป ตามแผน 13. การใช้จ่ายที่ปราศจากการทุจริตและประพฤติมิชอบ 14. ความสามารถในการควบคุม ตรวจสอบการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ให้เป็นไปตามระเบียบ ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน 12.1 ร้อยละของการเบิกจ่าย งบประมาณที่เป็นไปตามกำหนด 13.1 จำนวนเรื่องที่ อ.ก.พ. กรม ตัดสินว่ามีการทุจริตและประพฤติมิชอบ 14.1 ร้อยละของจำนวนเรื่องที่ สตง. ทักท้วง เมื่อเทียบกับจำนวนหน่วยงาน ที่เข้าตรวจ ด้านการเงิน
ขอขอบคุณทุกท่าน กรมประมง