1 / 22

ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล

ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล. องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) บุคลากรคอมพิวเตอร์ (Peopleware) การประมวลผลข้อมูล ( Data processing ) ข้อมูล (Data) และ ข้อสนเทศ (Information) การจัดองค์กรของข้อมูล (Data organization) วัฏจักรการประมวลผลข้อมูล

gur
Download Presentation

ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผลระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล • องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ • ฮาร์ดแวร์ (Hardware) • ซอฟต์แวร์ (Software) • บุคลากรคอมพิวเตอร์ (Peopleware) • การประมวลผลข้อมูล (Data processing) • ข้อมูล (Data) และ ข้อสนเทศ (Information) • การจัดองค์กรของข้อมูล (Data organization) • วัฏจักรการประมวลผลข้อมูล • ประเภทของการประมวลผล • การแทนข้อมูลในหน่วยความจำ • ระบบเลขฐานและการดำเนินการที่เกี่ยวข้อง • การแทนอักขระ • การแทนจำนวนเลข

  2. การประมวลผลข้อมูล การกระทำหรือการจัดการกับข้อมูล ในลักษณะต่างๆ เช่น การคำนวณ การเรียงลำดับ การคัดเลือก เป็นต้น เพื่อให้ได้ผลลัพธ์หรือข้อสนเทศที่มีความหมายและเป็นประโยชน์ตามต้องการ

  3. ข้อมูล (Data) • ข้อเท็จจริง (Facts) ที่ใช้สำหรับกิจการอย่างใดอย่างหนึ่ง • ข้อมูลอาจจะเป็นข้อเท็จจริงที่เป็นตัวเลข เช่น จำนวน ปริมาณ ระยะทาง ราคา ฯลฯ • ข้อเท็จจริงที่ไม่ใช่ตัวเลข เช่น ชื่อ ที่อยู่ สถานภาพการสมรส ฯลฯ • ยังมีความหมายรวมถึงข่าวสารที่ยังไม่ได้มีการประมวลผล • การเก็บรวบรวมข้อมูลเหล่านี้มาจากแหล่งข้อมูล(data source)

  4. ประเภทของข้อมูล • ข้อมูลดิบ (Raw Data) ที่ได้จากแหล่งกำเนิดข้อมูลโดยตรง เรียกว่าข้อมูลปฐมภูมิ(Primary Data) • ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลมาแล้ว เรียกว่า ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data)

  5. ข้อสนเทศ(Information) • ผลลัพธ์หรือสิ่งที่ได้จากการประมวลผลข้อมูลในรูปแบบต่างๆ • ข้อมูลขององค์กรหนึ่งอาจผ่านการประมวลผลข้อมูลหลายงาน • ข้อสนเทศที่ได้จึงมีได้หลายรูปแบบและหลายความหมาย และมีประโยชน์ต่อการนำไปใช้งาน • ข้อสนเทศจะถูกใช้ในการพิจารณาเพื่อการตัดสินใจ

  6. ข้อมูล ประมวลผล ข้อสนเทศ การประมวลผลข้อมูล (Data Processing) การนำเอาเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการประมวลผล เรียกว่า Electronic Data Processing (EDP)

  7. ข้อมูลปฐมภูมิ ตรวจสอบและหาผลรวมจำนวนสินค้าแยกตามชนิดในแต่ละเดือน จำนวนสินค้าที่ขายได้ในแต่ละเดือน ใบสั่งซื้อสินค้า ข้อมูลทุติยภูมิ จำนวนสินค้าที่ขายได้แยกตามชนิด หาผลคูณระหว่างราคาสินค้ากับจำนวนแยกตามชนิดของสินค้า มูลค่าของสินค้าที่ขายได้ในแต่ละเดือน ตัวอย่างของการประมวลผลข้อมูล

  8. แหล่งที่มาของข้อมูล แหล่งที่มาของข้อมูลขึ้นอยู่กับ องค์ประกอบหลายอย่าง เช่นขึ้นอยู่กับประเภทข้อมูลที่เราต้องการ ขึ้นอยู่กับลักษณะของหน่วยงานเป็นต้น ซึ่งอาจแยกที่มาของข้อมูลออกเป็น 2 ทางใหญ่ๆ ดังนี้ 1) แหล่งข้อมูลภายในหน่วยงาน (Internal Source) 2) แหล่งข้อมูลภายนอกหน่วยงาน (External Source)

  9. คุณสมบัติของข้อสนเทศที่ดีคุณสมบัติของข้อสนเทศที่ดี 1) ความถูกต้องแม่นยำ (Accuracy) 2) ความทันเวลา (Timeliness) 3) ความสมบูรณ์ครบถ้วน (Completeness) 4) ความกระทัดรัด (Conciseness) 5) ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ (Relevancy)

  10. ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผลระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล • องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ • ฮาร์ดแวร์ (Hardware) • ซอฟต์แวร์ (Software) • บุคลากรคอมพิวเตอร์ (Peopleware) • การประมวลผลข้อมูล (Data processing) • ข้อมูล (Data) และ ข้อสนเทศ (Information) • การจัดองค์กรของข้อมูล (Data organization) • วัฏจักรการประมวลผลข้อมูล • ประเภทของการประมวลผล • การแทนข้อมูลในหน่วยความจำ • ระบบเลขฐานและการดำเนินการที่เกี่ยวข้อง • การแทนอักขระ • การแทนจำนวนเลข

  11. การจัดองค์กรของข้อมูล(Data Orgaization) • Bit หน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดทางคอมพิวเตอร์ มีค่าเป็น 0 หรือ 1 • Byte ประกอบไปด้วยหลาย ๆ บิต เช่น 8 บิต เป็น 1 ไบต์ • Word ประกอบไปด้วยหลาย ๆ ไบต์ เช่น 1 เวิร์ดเท่ากับ 4 ไบต์ • Character ซึ่งได้แก่ตัวเลข 0-9 ตัวอักษร A-Z และสัญลักษณ์พิเศษต่าง ๆ จะสัมพันธ์กับไบต์ • เขตข้อมูล (Field) หมายถึงกลุ่มของ Character ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปรวมกันแล้วมีความหมาย เช่น เลขประจำตัว ชื่อพนักงาน

  12. การจัดองค์กรของข้อมูล(ต่อ)การจัดองค์กรของข้อมูล(ต่อ) • ระเบียนข้อมูล (Record) ได้แก่ ฟิลด์ตั้งแต่ 1 ฟิลด์ขึ้นไปที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันแล้วมีความหมายที่หมายถึงรายละเอียดของสิ่งที่สนใจ เช่น ชื่อ เลขประจำตัว ยอดขายของพนักงาน 1 คน รวมกันเป็นข้อมูลของพนักงานขาย 1 เรคคอร์ด • แฟ้ม (File) หมายถึงกลุ่มข้อมูลตั้งแต่ 1 เรคคอร์ดที่เป็นข้อมูลเรื่องเดียวกัน เช่น เรคคอร์ดเกี่ยวกับพนักงานขายทั้งหมดในหน่วยงานหนึ่งรวมกันเป็นแฟ้มข้อมูล เรียกได้ว่าเป็น แฟ้มหนักงานขาย • ฐานข้อมูล (Database)ได้แก่ ข้อมูลหลายๆ แฟ้มที่เกี่ยวข้องกันมาเก็บรวมกันเป็นฐานข้อมูล เช่น แฟ้มพนักงานขาย แฟ้มสินค้า แฟ้มรายการขาย แฟ้มลูกค้า รวมเป็นฐานข้อมูลของบริษัท

  13. Database File File File Record Record Record Field Field Character Bit แผนภาพการจัดองค์กรข้อมูล Data Item

  14. 5 5 3 3 28 17 19 23 40 35 40 37 11.25 8.75 8.75 9.5 ตัวอย่าง แฟ้ม ระเบียนและเขตข้อมูล Dept# Emp# Hour Rate Record File Field

  15. ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผลระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล • องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ • ฮาร์ดแวร์ (Hardware) • ซอฟต์แวร์ (Software) • บุคลากรคอมพิวเตอร์ (Peopleware) • การประมวลผลข้อมูล (Data processing) • ข้อมูล (Data) และ ข้อสนเทศ (Information) • การจัดองค์กรของข้อมูล (Data organization) • วัฏจักรการประมวลผลข้อมูล • ประเภทของการประมวลผล • การแทนข้อมูลในหน่วยความจำ • ระบบเลขฐานและการดำเนินการที่เกี่ยวข้อง • การแทนอักขระ • การแทนจำนวนเลข

  16. Output (information) Storage/ Report Processing Input (Data) Source Document Feedback วัฏจักรการประมวลผลข้อมูล (Data Processing Cycle)

  17. ขั้นตอนพื้นฐานในการประมวลผลขั้นตอนพื้นฐานในการประมวลผล การประมวลผลข้อมูล มี 3 ขั้นตอนดังนี้ 1) การเก็บรวบรวมและจัดเตรียมข้อมูล(Data collection and preparation) 2) การประมวลผลข้อมูล 3) การจัดการกับผลลัพธ์ (Information manipulation)

  18. การรวบรวมและจัดเตรียมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลให้พร้อมที่จะทำการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ นั่นคือการเปลี่ยนสภาพข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสม เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอ่านได้ การทำงานในขั้นตอนนี้ ได้แก่ • การให้รหัส คือการกำหนดรหัสแทนข้อมูล • การแปลงสภาพ คือ การเปลี่ยนตัวกลางที่ใชับันทึกข้อมูลให้อยู่ในรูปที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปประมวลผลได้ เช่น ดิสก์เกตต์ เทป ฯลฯ

  19. ลักษณะการประมวลผล • การประมวลผลแบบแบทช์ (Batch Processing) • การประมวลผลแบบออนไลน์ (Online Processing)

  20. การประมวลผลแบบแบทช์ (Batch Processing) • การประมวลผลโดยการรวบรวมข้อมูลเป็นกลุ่ม ณ ช่วงเวลาหนึ่ง ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่กำหนด • รวบรวมข้อมูลกลุ่มสร้างเป็นแฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลง (Transaction File) • เมื่อถึงเวลาตามที่กำหนด นำแฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลงเข้าประมวลผลครั้งเดียวพร้อมกัน • โดยนำไปปรับปรุงกับแฟ้มข้อมูลหลัก (Master File) เพื่อให้แฟ้มข้อมูลหลักมีความทันสมัยอยู่เสมอ

  21. การประมวลผลแบบออนไลน์ (Online Processing) • ข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น จะถูกนำไปปรับปรุงกับข้อมูลหลักโดยทันที • ระบบจะต้องมีเทอร์มินอลที่ติดต่อกับระบบเครื่องเพื่อป้อนข้อมูลทันทีผ่านระบบสื่อสารข้อมูล • การประมวลผลแบบนี้จะใช้ในกรณีที่ต้องการเสนอข้อมูลที่ถูกต้องตามเหตุการณ์ เช่น ในระบบจองตั๋วเครื่องบิน หรือกรณีที่ผู้โดยสารคืนตั๋วจะต้องปรับปรุงผลทันทีเพื่อที่จะได้ขายให้ลูกค้ารายอื่นได้

  22. การแทนรหัสข้อมูล • รหัส (Code) หมายถึงสัญลักษณ์ในการแทนข่าวสารหรือข้อมูลในรูปแบบที่เหมาะสม • รหัสมีความจำเป็นอย่างมากเกี่ยวกับการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ • การประมวลผลข้อมูลโดยเขียนคำสั่งควบคุมให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานที่เราต้องการ หรือส่งข้อมูลเข้าไปให้เครื่องคอมพิวเตอร์ประมวลผล • ตัวอย่างเช่น การให้รหัสแก่ข้อมูลเพศของนักศึกษา โดยกำหนดเป็น ‘F’แทน เพศหญิง ‘M’แทน เพศชาย

More Related