1 / 15

อาจารย์ผู้สอน : ผศ. วิไลภรณ์ บุญญกิจจินดา

พื้นฐานทางเคมีของชีวิต. อาจารย์ผู้สอน : ผศ. วิไลภรณ์ บุญญกิจจินดา. เนื้อหาประกอบด้วย. 1. อะตอมและโม เล กุล พันธะเคมี. 2. ชีวโมเลกุล. อะตอมและโม เล กุล. โครงสร้างของอะตอม. อะตอมเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของธาตุ ในโครงสร้างของอะตอมแบ่งเป็นอนุภาคย่อยๆ คือ. - โปรตอน - นิวตรอน

guri
Download Presentation

อาจารย์ผู้สอน : ผศ. วิไลภรณ์ บุญญกิจจินดา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พื้นฐานทางเคมีของชีวิตพื้นฐานทางเคมีของชีวิต อาจารย์ผู้สอน : ผศ. วิไลภรณ์ บุญญกิจจินดา

  2. เนื้อหาประกอบด้วย 1. อะตอมและโมเลกุล พันธะเคมี 2. ชีวโมเลกุล

  3. อะตอมและโมเลกุล

  4. โครงสร้างของอะตอม อะตอมเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของธาตุ ในโครงสร้างของอะตอมแบ่งเป็นอนุภาคย่อยๆ คือ - โปรตอน - นิวตรอน - อิเล็กตรอน เพราะเหตุใดอะตอมจึงไม่แสดงประจุ?

  5. แสดงโครงสร้างอะตอมของธาตุต่างๆแสดงโครงสร้างอะตอมของธาตุต่างๆ ธาตุแต่ละธาตุมีจำนวนโปรตอนไม่เท่ากัน เป็นคุณสมบัติเฉพาะตัวของธาตุ ในแต่ละอะตอมมีจำนวนโปรตอน = อิเล็กตรอน

  6. จำนวน proton ไม่จำเป็นต้องเท่ากับneutron

  7. เลขอะตอม (atomic number ) =จำนวน proton เลขมวล (mass number ) = จำนวน proton + neutron 39 K 19 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ

  8. Atomic number=? Mass number=?

  9. การทราบค่า atomic number และ mass number ทำให้เราเข้าใจถึงการเสีย e-/รับe- หรือการใช้ e- ร่วมกันของ อะตอมซึ่งทำให้เกิดพันธะเคมีแบบต่าง ๆ

  10. Isotope คือ อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันที่มีจำนวน นิวตรอนไม่เท่ากัน 3H 1H 2H + + +

  11. Electrons Cloud (Orbital) • ในทุกอะตอมจะมี e- ซึ่ง มีพลังงานอยู่ในอนุภาควิ่งวนรอบนิวเคลียส แต่ละ e-จะถูกดึงดูดโดยโปรตอนซึ่งมีประจุตรงกันข้าม และถูกผลักให้ห่างจาก e-ด้วยกัน บริเวณที่พบ e- เรียกว่า orbital

  12. Valence electron อิเล็กตรอนที่วิ่งอยู่ไกลจากนิวเคลียสมากที่สุด จะมีพลังงานสูงที่สุด เรียกอิเล็กตรอนกลุ่มที่อยู่นอกสุดนี้ว่าเวเลนซ์อิเล็กตรอน (valence electron)

  13. +1 บทบาทของvalence electron +10 +8 +9 +6 +3 +14 +16 +17 +18 +11 0 (inert) -1 +4 +2 +1 Electrons needed for atoms in each column to achieve stability

  14. การเกิดเป็นโมเลกุล อะตอมใดที่มี valence electron ไม่ครบ 2 หรือ ไม่ครบ 8 จะไม่เสถียรและจะทำปฏิกิริยากับอะตอมอื่น ๆ ได้หลายวิธี :  โดยการเสียเวเลนซ์อิเล็กตรอนให้อะตอมอื่น ทำให้ไม่มี e- ใน electron shell นอกสุด  โดยการรับ e- จากอะตอมอื่นทำให้ electron shell นอกสุด มี e-ครบ 2 หรือ ครบ 8  โดยการใช้ e-ร่วมกัน ทำให้แต่ละอะตอมที่รวมตัวกันเปรียบ เสมือนมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนครบ 2 หรือ ครบ 8 ปฏิกิริยาการเสีย e-, การรับ e-หรือการใช้ e-ร่วมกันทำให้ เกิดแรงยึดเหนี่ยวเรียกว่า พันธะเคมี (chemical bond) ทำให้อะตอมรวมตัวกันเป็นโมเลกุลได้

More Related