610 likes | 879 Views
โดย นายธนเดช โชติกาญจนเรือง นักวิชาการส่งเสริมการลงทุนชำนาญการ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน. มิติใหม่ BOI เตรียมประเทศไทยสู่ AEC. หลักเกณฑ์การอนุมัติโครงการ. มูลค่าเพิ่มไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของรายได้
E N D
โดย นายธนเดช โชติกาญจนเรือง นักวิชาการส่งเสริมการลงทุนชำนาญการ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน มิติใหม่ BOI เตรียมประเทศไทยสู่ AEC
หลักเกณฑ์การอนุมัติโครงการหลักเกณฑ์การอนุมัติโครงการ มูลค่าเพิ่มไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของรายได้ ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์และชิ้นส่วน การแปรรูปผลิตผลการเกษตร โครงการที่คณะกรรมการให้ความเห็นชอบเป็นกรณีพิเศษ อัตราส่วนหนี้สิน : ทุนจดทะเบียนไม่เกิน 3:1 ใช้กรรมวิธีการผลิตที่ทันสมัย มีระบบป้องกันสภาพแวดล้อมเป็นพิษที่เพียงพอ ยกเว้น
หลักเกณฑ์การถือหุ้นของต่างชาติหลักเกณฑ์การถือหุ้นของต่างชาติ กิจการเกษตรกรรม เลี้ยงสัตว์ ประมง สำรวจ / เหมืองแร่ บริการตามบัญชีหนึ่ง ต้องมีหุ้นไทยไม่น้อยกว่า 51% กิจการอุตสาหกรรม ต่างชาติถือหุ้นข้างมากหรือทั้งสิ้นได้
ไม่เกิน 40 ล้านบาท พิจารณาโดยผู้บริหารของสำนักงานฯ15 วันทำการ ไม่เกิน 40-80 ล้านบาท พิจารณาโดยสำนักงานฯ40 วันทำการ เกิน 80-750 ล้านบาท พิจารณาโดยคณะอนุกรรมการฯ60 วันทำการ 750 ล้านบาทขึ้นไป พิจารณาโดยคณะกรรมการฯ90 วันทำการ ระยะเวลาพิจารณาคำขอรับการส่งเสริม
บุคคลธรรมดา ห้างหุ้นส่วน สหกรณ์ มูลนิธิ บริษัท ผู้ขอรับการส่งเสริม
ผู้ได้รับการส่งเสริม บริษัท มูลนิธิ สหกรณ์
ประเภทกิจการที่ให้การส่งเสริมฯประเภทกิจการที่ให้การส่งเสริมฯ แบ่งประเภทกิจการเป็น 7 หมวด 1. เกษตรกรรมและผลิตผลจากการเกษตร 2. เหมืองแร่ เซรามิกส์ และโลหะขั้นมูลฐาน 3. อุตสาหกรรมเบา 4. ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักร อุปกรณ์ขนส่ง 5. อิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้า 6. เคมีภัณฑ์ กระดาษ และพลาสติก 7. บริการและสาธารณูปโภค
สิทธิและประโยชน์จากการส่งเสริมการลงทุนสิทธิและประโยชน์จากการส่งเสริมการลงทุน สิทธิและประโยชน์ ไม่ใช่ภาษี ภาษี
- นำเข้าช่างฝีมือ ผู้ชำนาญการ คู่สมรส - อนุญาตทำงาน สำหรับชาวต่างชาติ - ถือกรรมสิทธิ์ที่ดิน - ส่งเงินออกนอกราชอาณาจักร สิทธิและประโยชน์จากการส่งเสริมการลงทุน สิทธิและประโยชน์ไม่ใช่ภาษี
1.อากรขาเข้าเครื่องจักร1.อากรขาเข้าเครื่องจักร 2.อากรขาเข้าวัตถุดิบ 3.ภาษีเงินได้นิติบุคคล 4.สิทธิประโยชน์ในเขตส่งเสริมการลงทุน สิทธิและประโยชน์จากการส่งเสริมการลงทุน สิทธิและประโยชน์ด้านภาษีอากร
การกำหนดเขตและการให้สิทธิประโยชน์การกำหนดเขตและการให้สิทธิประโยชน์
เขต 1 กรุงเทพมหานคร นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร
เขต 2 กาญจนบุรี ชลบุรี อยุธยา ระยอง สมุทรสงคราม สุพรรณบุรี ฉะเชิงเทรา นครนายก ภูเก็ต ราชบุรี สระบุรี อ่างทอง
เขต 3 59 จังหวัด • แบ่งเป็นโครงการที่ตั้งใน 36 จังหวัดโครงการที่ตั้งใน 23 จังหวัด
โครงการที่ตั้งใน 36 จังหวัด มุกดาหาร เลย ขอนแก่น นครราชสีมา เพชรบูรณ์ พิจิตร สุโขทัย เชียงราย แม่ฮ่องสอน อุตรดิตถ์ ตาก พิษณุโลก กำแพงเพชร ลำปาง เชียงใหม่ ลำพูน ตราด จันทบุรี ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี ปราจีนบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท อุทัยธานี นครสวรรค์ สระแก้ว พังงา สงขลา กระบี่ สุราษฏร์ธานี ชุมพร ตรัง พัทลุง นครศรีธรรมราช และระนอง
โครงการที่ตั้งใน 23 จังหวัด ศรีสะเกษ หนองบัวลำภู ชัยภูมิ หนองคาย บึงกาฬ อุบลราชธานี อุดรธานี สุรินทร์ ยโสธร มหาสารคาม นครพนม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ สกลนคร บุรีรัมย์ อำนาจเจริญ แพร่ พะเยา น่าน สตูล ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส
สิทธิและประโยชน์ด้านเครื่องจักรและวัตถุดิบสิทธิและประโยชน์ด้านเครื่องจักรและวัตถุดิบ
การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตามเขตที่ตั้งโรงงานการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตามเขตที่ตั้งโรงงาน *นิคมแหลมฉบังและนิคมในจังหวัดระยองได้รับ 8 ปี
สิทธิประโยชน์เพิ่มเติม เขต 3 36+23 จังหวัด
หลักเกณฑ์การอนุมัติโครงการหลักเกณฑ์การอนุมัติโครงการ • มีเงินลงทุน เกิน 1ล้านบาท(ไม่รวมค่าที่ดิน ทุนหมุนเวียน) • D/ERatio ไม่เกิน 3 : 1 • ใช้กรรมวิธีการผลิตทันสมัยและเครื่องจักรใหม่ กรณีใช้เครื่องจักรเก่า ต้องได้รับความเห็นชอบจากสำนักงาน • มีระบบป้องกันสภาพแวดล้อมเป็นพิษที่เพียงพอ • มูลค่าเพิ่มไม่น้อยกว่า 20% ของรายได้(ยกเว้น เกษตร อิเล็กทรอนิกส์) • อนุญาตให้ต่างชาติถือหุ้นได้ 100% ยกเว้น กิจการที่มี พรบ.อื่นกำหนดไว้ • กิจการที่ลงทุนตั้งแต่ 10 ล้านบาทขึ้นไป ต้องได้รับมาตรฐาน ISO9000 หรือเทียบเท่า
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการลงทุนยุทธศาสตร์ส่งเสริมการลงทุน อุตสาหกรรมเป้าหมาย • เกษตร • แฟชั่น • ยานยนต์ • อิเล็กทรอนิกส์ • บริการมูลค่าเพิ่มสูง
กิจการที่มีความสำคัญและเป็นประโยชน์ต่อประเทศเป็นพิเศษกิจการที่มีความสำคัญและเป็นประโยชน์ต่อประเทศเป็นพิเศษ ยกเว้นอากรนำเข้าเครื่องจักร และยกเว้นภาษีเงินได้ 8 ปี ทุกเขต (ไม่จำกัดวงเงิน) เช่น ผลิตพลังงานทดแทน Solar Cell, Ethanol, Bio- diesel, Fuel Cell กิจการที่เป็น STI โดยตรง 8 ประเภท กิจการผลิต Wafer และกิจการออกแบบทางอิเล็กทรอนิกส์ กิจการ Soft Ware
กิจการที่ให้ความสำคัญเป็นพิเศษกิจการที่ให้ความสำคัญเป็นพิเศษ ให้ได้รับสิทธิและประโยชน์ด้านภาษีอากร ดังนี้ กิจการเกษตรกรรมและผลิตผลจากการเกษตรกิจการที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการพัฒนาเทคโนโลยีและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ กิจการสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และบริการพื้นฐาน กิจการที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและรักษาสิ่งแวดล้อม อุตสาหกรรมเป้าหมาย ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าสำหรับเครื่องจักรไม่ว่าตั้งอยู่ในเขตใด ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นระยะเวลา 8 ปี ไม่ว่าตั้งอยู่ในเขตใด สิทธิและประโยชน์อื่นให้ได้รับตามเกณฑ์ที่ตั้งในแต่ละเขต
นโยบายส่งเสริมการลงทุนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนนโยบายส่งเสริมการลงทุนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
วัตถุประสงค์ กระตุ้นให้เกิดการลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมาย อันจะนำไปสู่การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ได้แก่ อุตสาหกรรมพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน อุตสาหกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง มีทั้งสิ้น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 กลุ่มกิจการเกี่ยวกับการประหยัดพลังงานและพลังงานทดแทน กลุ่มที่ 2 กลุ่มกิจการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม กลุ่มที่ 3 กลุ่มกิจการที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง 1. มาตรการส่งเสริมการลงทุนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ประเภทกิจการ 1.18 กิจการผลิตแอลกอฮอล์หรือเชื้อเพลิงจากผลผลิตการเกษตร รวมทั้งเศษ หรือขยะ หรือของเสีย 4.2.3 กิจการผลิตเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ประหยัดพลังงาน/ ใช้พลังงานทดแทน 4.15 กิจการผลิตเซลล์เชื้อเพลิง 7.1.1 กิจการผลิตพลังงานไฟฟ้าหรือไอน้ำ - กรณีใช้พลังงานหมุนเวียน เช่น จากวัสดุทางการเกษตร/ก๊าซชีวภาพ/พลังงานลม เป็นต้น กลุ่มที่ 1 กิจการเกี่ยวกับการประหยัดพลังงานและพลังงานทดแทน
ประเภทกิจการ 6.3 กิจการผลิตเคมีภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Eco-Friendly Chemicals) 6.4 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Eco-Friendly Products) กลุ่มที่ 2 กิจการผลิตวัสดุและผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ประเภทกิจการ 1.11.10 กิจการผลิตอาหารทางการแพทย์ (Medical Food) 2.5.3 กิจการผลิตผลิตภัณฑ์ Advanced ceramics 2.19 กิจการผลิตวัสดุนาโนหรือการผลิตผลิตภัณฑ์จากวัสดุนาโนที่ผลิตเอง (Manufactured Nano Material) 3.1.1กิจการผลิตเส้นใยธรรมชาติ หรือเส้นใยประดิษฐ์ - Functional Fiber 3.9 กิจการผลิตเครื่องมือทางการแพทย์ 3.10 กิจการผลิตเครื่องมือวิทยาศาสตร์ กลุ่มที่ 3 กิจการที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง (1/5)
ประเภทกิจการ 4.2.2 กิจการผลิตเครื่องจักรและอุปกรณ์ใช้ในการเกษตร (Farm Machinery) และอุตสาหกรรมผลิตอาหาร (Food Processing Machinery) 4.2.4 กิจการผลิตหรือซ่อมแม่พิมพ์ (เฉพาะกิจการผลิตแม่พิมพ์และ ชิ้นส่วน) 4.9กิจการผลิตหรือซ่อมอากาศยาน รวมทั้งชิ้นส่วนอุปกรณ์อากาศยาน หรือเครื่องใช้บนอากาศยาน กลุ่มที่ 3 กิจการที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง (2/5)
ประเภทกิจการ 4.8 กิจการผลิตชิ้นส่วนยานพาหนะ - Automatic Transmission, CVT Transmission - Traction Motor สำหรับรถยนต์ เช่น รถ Hybrid หรือรถ Fuel Cell - Electronic Stability Control (ESC) - Regenerative Braking System - การผลิตยางยานพาหนะ 5.4.3 การผลิตผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับงานอุตสาหกรรม 5.4.4 การผลิตอุปกรณ์โทรคมนาคม 5.5.1 กิจการผลิตอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ กลุ่มที่ 3 กิจการที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง (3/5)
ประเภทกิจการ 5.5.2 กิจการผลิตอุปกรณ์หน่วยความจำ Hard Disk Drive, Solid State Drive และชิ้นส่วน HDD และ SDD 5.5.4 ชิ้นส่วนอุปกรณ์โทรคมนาคม 5.5.5 กิจการผลิตชิ้นส่วนสำหรับผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ทางการแพทย์ 5.5.6 กิจการผลิตชิ้นส่วนสำหรับผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อการเกษตร 5.5.7 กิจการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์สำหรับยานพาหนะ กลุ่มที่ 3 กิจการที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง (4/5)
5.5.10 กิจการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ และวัตถุดิบสำหรับการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ 5.5.12 กิจการผลิต Flate Panel Display 5.6 กิจการผลิตสารหรือแผ่นสำหรับไมโครอิเล็กทรอนิกส์ 5.7 กิจการออกแบบทางอิเล็กทรอนิกส์ 7.18กิจการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 7.19กิจการเทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) 7.20กิจการวิจัยและพัฒนา 7.21กิจการบริการทดสอบทางวิทยาศาสตร์ 7.22กิจการบริการสอบเทียบมาตรฐาน กลุ่มที่ 3 กิจการที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง (5/5)
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข ตั้งโรงงานได้ทุกจังหวัด ยกเว้น กทม. สิทธิและประโยชน์ ยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักรทุกเขต ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 8 ปี ทุกเขต โดยไม่กำหนดสัดส่วนวงเงินลงทุน ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลร้อยละ 50 เป็นเวลาไม่เกิน 5 ปี อนุญาตให้หักค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า และค่าประปา 2 เท่า เป็นระยะเวลา 10 ปี อนุญาตให้หักเงินค่าติดตั้งหรือก่อสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกจากกำไรสุทธิ ไม่เกินร้อยละ 25 ของเงินที่ลงทุนในการนั้น 1.มาตรการส่งเสริมการลงทุนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
วัตถุประสงค์ เพื่อกระตุ้นให้ผู้ประกอบการลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อการประหยัดพลังงาน หรือการนำพลังงานทดแทนมาใช้ในกิจการ หรือการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม หลักเกณฑ์และเงื่อนไข เป็นกิจการที่ดำเนินการอยู่แล้ว และต้องอยู่ในข่ายให้การส่งเสริมได้ ระยะเวลาการยกเว้นหรือลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลของโครงการเดิมต้องสิ้นสุดลงแล้ว หรือเป็นโครงการที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ต้องเสนอแผนการลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักรมาด้วย ต้องยื่นคำขอภายใน 31 ธ.ค. 55 และต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 3 ปี นับตั้งแต่วันออกบัตรส่งเสริม 2. มาตรการส่งเสริมการลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อการประหยัดพลังงาน หรือการใช้พลังงานทดแทน หรือการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
สิทธิและประโยชน์ ยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 3 ปี เป็นสัดส่วนร้อยละ 70 ของเงินลงทุน ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน ยกเว้นโครงการตามมาตรการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 8 ปี เป็นสัดส่วนร้อยละ 100 ของเงินลงทุน ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียนในการปรับปรุง โดยให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลจากรายได้ของกิจการที่ดำเนินการอยู่เดิม 2. มาตรการส่งเสริมการลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อการประหยัดพลังงาน หรือการใช้พลังงานทดแทน หรือการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
วัตถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนให้ผู้ประกอบการใช้เครื่องจักรอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถขยายตลาดไปสู่ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น เพื่อเป็นการเพิ่มรายได้และรักษาการจ้างงาน 3. มาตรการส่งเสริมการลงทุนปรับปรุงเทคโนโลยีเพื่อการผลิต ผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข ต้องเป็นโครงการที่ดำเนินการอยู่แล้ว ไม่ว่าจะได้รับการส่งเสริมหรือไม่ก็ตาม ต้องลงทุนด้านเครื่องจักรในการนำเทคโนโลยีมาใช้ปรับปรุงสายการผลิตเดิม เพื่อให้สามารถผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่ได้ ผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่จะต้องมีความแตกต่างจากผลิตภัณฑ์เดิม โดยสามารถระบุชื่อชนิดผลิตภัณฑ์ใหม่ได้ชัดเจน และผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่จะต้องอยู่ในข่ายให้การส่งเสริม โดยได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลด้วย การปรับปรุงสายการผลิต ไม่รวมถึงการปรับปรุงสายการประกอบผลิตภัณฑ์ ต้องยื่นคำขอรับส่งเสริม พร้อมกับแผนการลงทุน ภายใน 31 ธันวาคม 2555 3. มาตรการส่งเสริมการลงทุนปรับปรุงเทคโนโลยีเพื่อการผลิต ผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่
สิทธิและประโยชน์ ยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักรทุกเขต ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 3 ปี สำหรับรายได้ของผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่ เป็นสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 100 ของเงินลงทุนที่ใช้ในการปรับปรุงสายการผลิต 3. มาตรการส่งเสริมการลงทุนปรับปรุงเทคโนโลยีเพื่อการผลิต ผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่
วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นให้โรงงานอุตสาหกรรมให้ความสำคัญกับการจัดการสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น 4. มาตรการส่งเสริมการลงทุนเพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม • หลักเกณฑ์และเงื่อนไข • ต้องเป็นผู้ประกอบการโรงกลั่นน้ำมัน โรงแยกก๊าซธรรมชาติ โรงไฟฟ้า เคมีและปิโตรเคมี แร่และโลหะพื้นฐาน • ต้องเป็นผู้ดำเนินการถูกต้องตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมตามที่หน่วยราชการกำหนด • ต้องเป็นโครงการที่ดำเนินการอยู่แล้ว ไม่ว่าจะได้รับการส่งเสริมหรือไม่ก็ตาม • ต้องยื่นคำขอรับส่งเสริม พร้อมกับแผนการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 3 ปี นับตั้งแต่วันออกบัตรส่งเสริม
สิทธิและประโยชน์ ยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักรเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 8 ปี เป็นสัดส่วนร้อยละ 100 ของเงินลงทุน ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียนในการปรับปรุง โดยให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลจากรายได้ของกิจการที่ดำเนินการอยู่เดิม 4. มาตรการส่งเสริมการลงทุนเพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม
งานบริการของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนงานบริการของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
ให้คำปรึกษา แนะนำ บริการข้อมูลด้านการลงทุน กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้องแก่นักลงทุนและผู้สนใจทั่วไป ต้อนรับ บรรยายสรุปแก่นักลงทุน จัดนิทรรศการ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์งานของสำนักงานฯ ติดต่อนัดหมาย ประสานงานหน่วยงานราชการและเอกชนที่เกี่ยวข้องให้กับนักลงทุน บริการต่างๆจาก BOI
จัดให้มีบริการข้อมูลในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ผ่านทางเว็ปไซด์ www.boi.go.th จัดระบบ กำกับดูแลห้องสมุดเพื่อให้บริการหนังสือและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ การลงทุนและอื่นๆ บริการต่างๆจาก BOI
อำนวยความสะดวกให้แก่นักลงทุน ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ชำนาญการชาวต่างประเทศ ในการอนุมัติตำแหน่งและบรรจุตัวบุคคล โดยหน่วยงานช่างฝีมือ บริการข้อมูลพร้อมให้คำแนะนำทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เกี่ยวกับลู่ทางลงทุน แยกตามประเภท อุตสาหกรรมและภูมิภาค บริการต่างๆจาก BOI
บริการจับคู่การลงทุน - บริการหาผู้ร่วมทุนโดยการออกข่าวการหาผู้ร่วมทุนในทุกๆเดือน - สามารถเข้าไปกรอกข้อมูลได้ที่เว็บไซด์ของสำนักงาน ในหัวข้อบริการออนไลน์ บริการต่างๆจาก BOI
หน่วยพัฒนาเชื่อมโยงอุตสาหกรรม ( BUILD ) - ดำเนินการเชื่อมโยงระหว่างบริษัทใหญ่ ผู้ผลิตสินค้าสำเร็จรูป ที่ตั้งอยู่ในและนอกประเทศกับผู้ผลิตชิ้นส่วนซึ่งเป็นบริษัทขนาดเล็กและขนาดกลาง เพื่อนำไปสู่การถ่ายทอดเทคโนโลยี และการผลิตที่ครบวงจร - สามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมที่http://build.boi.go.th/build/ บริการต่างๆจาก BOI
บริการฐานข้อมูลอุตสาหกรรมสนับสนุนอาเซียนwww.asidnet.orgบริการฐานข้อมูลอุตสาหกรรมสนับสนุนอาเซียนwww.asidnet.org - ฐานข้อมูลผู้ผลิตชิ้นส่วนในอุตสาหกรรมสนับสนุนของประเทศสมาชิกอาเซียน โดยสามารถสืบค้นผ่านอินเตอร์เน็ตได้ตลอดเวลา และไม่มีค่าใช้จ่าย บริการต่างๆจาก BOI
หน่วยงานช่างฝีมือ หรือ Foreign Expert Unit - ดำเนินงานด้านช่างฝีมือ ผู้ชำนาญตามมาตรา 24 มาตรา 25 และมาตรา 26 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุนในการอนุมัติตำแหน่งหน้าที่ และบรรจุตัวช่างฝีมือ ผู้ชำนาญการพร้อมครอบครัว บริการต่างๆจาก BOI
ศูนย์บริการวีซ่าและใบอนุญาตทำงานศูนย์บริการวีซ่าและใบอนุญาตทำงาน - บริการเกี่ยวกับการต่อวีซ่า ออกใบอนุญาต ทำงานรวมถึงการต่อใบอนุญาตทำงาน การอนุญาตให้เดินทางกลับเข้ามาในราชอาณาจักรและการเปลี่ยนประเภทวีซ่า - สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่02 -209-1100 บริการต่างๆจาก BOI