300 likes | 426 Views
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. สถานการณ์เศรษฐกิจและสังคม ในปัจจุบันและในอนาคต ที่มีผลกระทบต่อแรงงานในปี 2552. โดย อารยะ มาอินทร์ ร.ผอ.สำนักยุทธศาสตร์และการวางแผนพัฒนาทางสังคม สศช. วันที่ 22 มกราคม 2552 ณ กระทรวงแรงงาน. ประเด็นนำเสนอ. ภาพรวมวิกฤตเศรษฐกิจโลก
E N D
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สถานการณ์เศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบันและในอนาคต ที่มีผลกระทบต่อแรงงานในปี 2552 โดย อารยะ มาอินทร์ร.ผอ.สำนักยุทธศาสตร์และการวางแผนพัฒนาทางสังคม สศช. วันที่ 22 มกราคม 2552 ณ กระทรวงแรงงาน
ประเด็นนำเสนอ • ภาพรวมวิกฤตเศรษฐกิจโลก • และสถานการณ์เศรษฐกิจไทย • สถานการณ์แรงงานและสังคม • นโยบายรัฐบาลและความก้าวหน้า
สถานการณ์เศรษฐกิจโลก • พอล ครุกแมน นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบลปี 2551 คาดการณ์ว่า เศรษฐกิจโลกจะประสบภาวะถดถอยจากวิกฤติการเงินถึงปี 2554 • OECD คาดการณ์ว่าวิกฤตเศรษฐกิจโลกจะทำให้มีผู้ว่างงานเพิ่มขึ้นจากเดิม อย่างน้อย 25 ล้านคนทั่วโลกโดยในกลุ่มประเทศสมาชิก OECD จะมีผู้ว่างงานเพิ่มขึ้น 8-10 ล้านคน
สถานการณ์เศรษฐกิจโลก • อังค์ถัด (UNCTAD) คาดการณ์ว่าเม็ดเงินลงทุนจากต่างประเทศทั่วโลกลดลงร้อยละ 21 หรือ 1.4 ล้านล้านดอลลาร์ ในปี 2551 • ธนาคารโลกคาดการณ์ว่าในปี 2552 เศรษฐกิจจีนจะขยายตัวร้อยละ 7.5ต่ำสุดในรอบ 19 ปี จากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจภายในของจีน • OECD คาดว่าเศรษฐกิจกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำจะหดตัวลงถึงกลางปี 2552 โดย สหรัฐมีแนวโน้มหดตัวลง 0.9% กลุ่มประเทศยุโรป 0.6% ญี่ปุ่น 0.1% และกลุ่มประเทศสมาชิก OECD 0.4 %
แนวโน้มการว่างงานของประเทศอุตสาหกรรมและไทยแนวโน้มการว่างงานของประเทศอุตสาหกรรมและไทย Source: OECD (2008), OECD Economic Outlook, No. 84, November.
สถานการณ์เศรษฐกิจของไทยในปัจจุบันสถานการณ์เศรษฐกิจของไทยในปัจจุบัน 1. ภาพรวม เศรษฐกิจปี 51 มีแนวโน้มชะลอตัวอย่างต่อเนื่อง Q 1 ขยายตัวร้อยละ 6.1 Q 2 ขยายตัวร้อยละ 5.3 Q 3 ขยายตัวร้อยละ 4.0 ทั้งปีคาดว่าจะต่ำกว่าร้อยละ 3.0 เนื่องจาก :การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนขยายตัวเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง ภาวะเศรษฐกิจโลกเริ่มชะลอตัว
สถานการณ์เศรษฐกิจของไทยในปัจจุบัน (ต่อ) สถานการณ์เศรษฐกิจในปัจจุบัน 2. ภาคการผลิต รายได้ภาคเกษตร : เดือน พ.ย. เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.4 ลดลงจาก Q3 (57.4) เนื่องจากราคาสินค้าเกษตรเริ่มลดลง อุตสาหกรรม : ดัชนีอุตสาหกรรม หดตัวร้อยละ 6.6 และการใช้กำลังการผลิต ลดลงเหลือร้อยละ 61.2 ในเดือน พ.ย. ท่องเที่ยว : จำนวนนักท่องเที่ยวในเดือน ธ.ค. ลดลง 1.13 ล้านคน
สถานการณ์เศรษฐกิจของไทยในปัจจุบัน (ต่อ) • การใช้จ่ายเอกชน (พ.ย.) การลงทุน ดัชนีการลงทุนขยายตัวร้อยละ 1.2 ปริมาณจำหน่ายรถยนต์หดตัวร้อยละ 36.7 ปริมาณจำหน่ายซีเมนต์หดตัวร้อยละ 22.4 การบริโภค ดัชนีการบริโภค หดตัวร้อยละ 1.6
สถานการณ์เศรษฐกิจของไทยในปัจจุบัน (ต่อ) 4. ด้านรายได้รายจ่ายรัฐบาล (ต.ค.-ธ.ค.51) รายได้ : จัดเก็บ 272,837 ลบ. ลดลงร้อยละ 16.1 ของช่วงเดียวกันในปีที่แล้ว เนื่องจากการหดตัวของภาษีสรรพสามิต ธุรกิจการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีศุลกากร และรัฐวิสาหกิจนำส่งรายได้ลดลง รายจ่าย : เบิกจ่าย 404,340 ลบ. สูงกว่าช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว ร้อยละ 2.8 ดุลการคลัง : ขาดดุลใน งปม. 129,003 ลบ. นอก งปม. 79,131 ลบ. และดุลเงินสด 208,134 ลบ.จากการไถ่ถอนตั๋วเงินคลังสุทธิ การถอนคืน VATของกรมสรรพากร
สถานการณ์เศรษฐกิจของไทยในปัจจุบัน (ต่อ) 5. ด้านต่างประเทศ (ต.ค. - พ.ย. 51) ส่งออก : มูลค่า หดตัวร้อยละ 17.7 ปริมาณ หดตัวร้อยละ 20.9 นำเข้า :ปริมาณ หดตัวร้อยละ 9.4 ดุลการค้า ดุลการค้า ขาดดุล 1.9 พันล้าน US$ ดุลบริการและเงินโอน ขาดดุล 240 ล้านUS$
สถานการณ์เศรษฐกิจของไทยในปัจจุบัน (ต่อ) 6. ด้านการเงิน อัตราดอกเบี้ย พ.ย. 51: ฝากประจำ 1ปี ร้อยละ 1.75-2.00 เงินกู้ลูกค้าชั้นดี ร้อยละ 6.75-7.00 สินเชื่อภาคเอกชน พ.ย. 51: ขยายตัวร้อยละ 11.2 ตลาดหลักทรัพย์ ต่ำสุดในเดือน ต.ค.51 และฟื้นตัว เล็กน้อย ณ 20 ม.ค.52 อยู่ที่ 433.19 จุด อัตราแลกเปลี่ยน ณ 20 ม.ค.52 : 35.02 บาท/US$ ทุนสำรองระหว่างประเทศ : แนวโน้มเพิ่มขึ้น ณ 26 ธ.ค.51 เท่ากับ 110.9 พันล้าน US$ อัตราเงินเฟ้อ ธ.ค. 51 : ร้อยละ 0.4 ต่ำสุดในรอบ 76 เดือน ตลอดปี 2551: ร้อยละ 5.5
สรุปสถานการณ์เศรษฐกิจของไทยสรุปสถานการณ์เศรษฐกิจของไทย GDP ขยายตัวในอัตราที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง จนถึงปี 52 กำลังการผลิตของอุตสาหกรรม และดัชนีการ บริโภคลดลง ภาครัฐจัดเก็บภาษีได้น้อยลง ขณะที่มีรายจ่าย เพิ่มขึ้น มูลค่าการส่งออกหดตัว จำนวนนักท่องเที่ยว ลดลง
สถานการณ์แรงงานและสังคมสถานการณ์แรงงานและสังคม การเลิกจ้าง (1 มกราคม 2551 - 19 มกราคม 2552) • สถานประกอบการที่มีการเลิกจ้างแล้ว 733 แห่ง • ลูกจ้างถูกเลิกจ้าง 57,499 คน และได้รับ ผลกระทบ 159,321 คน พื้นที่ที่เลิกจ้างมาก ปทุมธานี สมุทรปราการ กรุงเทพฯ พระนครศรีอยุธยา ตาก • ประเภทกิจการที่เลิกจ้างมาก ประกอบด้วย • 1) สิ่งทอ 87 แห่ง • 2) บำรุงรักษาคอมพิวเตอร์ รับทำบัญชี 68 แห่ง • 3) เฟอร์นิเจอร์ เครื่องประดับ 63 แห่ง • 4) ผลิตอุปกรณ์และชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิคส์ 59 แห่ง • 5) ผลิตผลิตภัณฑ์จากแร่อโลหะ โลหะ 53 แห่ง
แนวโน้มการเลิกจ้าง • สถานประกอบการที่มีแนวโน้มเลิกจ้าง 396 แห่ง • ลูกจ้างมีแนวโน้มถูกเลิกจ้าง 48,227 คน • ได้รับผลกระทบ 183,610 คน พื้นที่ที่มีแนวโน้ม เลิกจ้างมาก ลำพูน สมุทรปราการ ปทุมธานี นครราชสีมา กรุงเทพฯ • ประเภทกิจการที่มีแนวโน้มเลิกจ้าง มาก • 1) ผลิตอุปกรณ์และชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิคส์ 88 แห่ง • 2) ผลิตยานยนต์และอุปกรณ์ขนส่ง 47 แห่ง • 3) เฟอร์นิเจอร์ เครื่องประดับ 40 แห่ง • 4) ผลิตเครื่องจักร 32 แห่ง • 5) ผลิตเคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ยางและพลาสติก 32 แห่ง
ประมาณการผู้สำเร็จการศึกษาที่เข้าสู่ตลาดแรงงานใหม่ประมาณการผู้สำเร็จการศึกษาที่เข้าสู่ตลาดแรงงานใหม่ หน่วย:คน ประมาณการโดย สำนักยุทธศาสตร์และการวางแผนพัฒนาทางสังคม สศช.
แนวโน้มการว่างงานปี 2552 • การว่างงานปี 2551 • จำนวนผู้ว่างงาน 5.5 แสนคน • (ประมาณการโดย สศช.) • แนวโน้มการว่างงานปี 2552 • ธนาคารแห่งประเทศไทย 1.1-1.4 ล้านคน • สศช. 0.9-1.2 ล้านคน • TDRI (ไตรมาสแรก) 0.9 ล้านคน • ศูนย์วิจัยกสิกรไทย 1.1-1.4 ล้านคน • ศูนย์พยากรณ์และธุรกิจ • มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 0.9-1.3 ล้านคน อัตราการว่างงาน 1.4 % GDP 3 % อัตราการว่างงาน 2.5-3 % GDP 0-2 % (ข้อมูลโดย ธปท.)
สถานการณ์ด้านสังคม • ปัญหาอาชญากรรม3 ไตรมาสแรกปี 51 สัดส่วนคดีประทุษร้ายต่อทรัพย์สิน : 76.1 คดีต่อประชากรแสนคน สัดส่วนคดีชีวิต ร่างกาย และเพศ : 37.7 คดีต่อประชากรแสนคน 2. ปัญหายาเสพติด3 ไตรมาสแรกปี 51 สัดส่วนคดียาเสพติด 230.6 คดีต่อประชากรแสนคน 3. สุขภาพจิต ปี 50 จำนวนผู้ป่วยทางสุขภาพจิต จำนวน 1.34 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 2.13 ของประชากรทั้งประเทศ และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นปัญหาที่ทำให้เครียดมากที่สุดคือ ปัญหาการงาน รองลงมาคือ ปัญหาการเงิน โดยผู้หญิงมีความเครียดสูงกว่าผู้ชาย
สถานการณ์ด้านสังคม (ต่อ) 4. การคุ้มครองผู้บริโภค ปี 51 มีผู้ร้องเรียนทั้งหมด 3,435 ราย บัตรเครดิต สินเชื่อบุคคล หนี้นอกระบบ ร้อยละ 57 : ติดตามทวงหนี้อย่างไม่เป็นธรรม การประกันภัย ร้อยละ 14 คุณภาพบริการ ร้อยละ 6 5. ภาวะหนี้สิน ปี 2550 ครัวเรือนมีหนี้สิน 116,681 บาท ครัวเรือนร้อยละ 63 มีหนี้สิน
นโยบายรัฐบาล นโยบายเร่งด่วน ที่เกี่ยวกับด้านแรงงาน 1.2.1 ร่วมมือกับภาคเอกชนเพื่อชะลอการเลิกจ้าง 1.2 รักษาและ เพิ่มรายได้ ของประชาชน 1.2.2 ฝึกอบรมแรงงานที่ว่างงาน 500,000 คน ในระยะเวลา 1 ปี 1.2.3 เร่งรัดบรรเทาความเดือดร้อนของผู้ถูกเลิกจ้าง และผู้ว่างงาน
นโยบายรัฐบาล นโยบายในช่วง 3 ปี ด้านแรงงาน 3.2.1การคุ้มครองตามมาตรฐานแรงงานไทย 3.2.2 ปฏิรูประบบประกันสังคมให้มีความเข้มแข็งมั่นคง 3.2 นโยบาย แรงงาน 3.2.3 พัฒนาและฝึกอบรมแรงงานให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีและความต้องการของตลาดแรงงาน 3.2.4 ส่งเสริมแรงงานไทยไปทำงานต่างประเทศ อย่างมีศักดิ์ศรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดี 3.2.5 สนับสนุนสวัสดิการด้านแรงงาน 3.2.6 การจัดระบบการจ้างงานแรงงานต่างด้าว 3.2.7 ส่งเสริมการมีงานทำของผู้สูงอายุและคนพิการ
แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจมุ่งสร้างรายได้และลดภาระค่าใช้จ่ายของกลุ่มเป้าหมายที่เดือดร้อน 9 กลุ่ม
กรอบวงเงิน 115,000.0 ล้านบาท • แผนงานฟื้นฟูและเสริมสร้างความเชื่อมั่นด้านเศรษฐกิจ • 37,464.6 ล้านบาท อาทิ • โครงการช่วยเหลือค่าครองชีพประชาชน • และบุคลากรภาครัฐ • โครงการ 5 มาตรการ 6 เดือนเพื่อลดค่าครองชีพ • โครงการจัดทำและพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร • โครงการก่อสร้างทางในหมู่บ้านฯ แผนงานบริหารเพื่อรองรับ กรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น 2,391.3 ล้านบาท แผนงานรายจ่าย เพื่อชดใช้เงินคงคลัง 19,139 ล้านบาท • แผนงานเสริมสร้างรายได้ พัฒนาคุณภาพชีวิต • และความมั่นคงด้านสังคม 56,004.6 ล้านบาท อาทิ • โครงการสนับสนุนการจัดการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย 15 ปี • โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับชุมชน • โครงการสร้างหลักประกันรายได้แก่ผู้สูงอายุ • โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงานเพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ • (6,900 ลบ.) • โครงการส่งเสริมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)
แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องด้านแรงงานแผนฟื้นฟูเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องด้านแรงงาน
แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องด้านแรงงาน (ต่อ) โครงการ ฝึกอบรมกลุ่มแรงงานนอกภาคเกษตร 500,000 คน พิจารณาภายใต้ คณะกรรมการบริหารโครงการ เพิ่มศักยภาพผู้ว่างงานเพื่อสร้างมูลค่า ทางเศรษฐกิจและสังคม ที่มีรองนายกฯ กอร์ปศักดิ์ฯ เป็นประธาน ซึ่งแต่งตั้งตามมติ ครม.เมื่อวันที่ 13 ม.ค. 52
มาตรการภาษีกระตุ้นเศรษฐกิจมาตรการภาษีกระตุ้นเศรษฐกิจ • ยกเว้นภาษีให้ผู้ซื้ออสังหาฯ ใหม่ • ยกเว้นภาษี SME ที่มีรายได้ไม่ถึง 1 ล้านบาท • ยกเว้นภาษีวิสาหกิจชุมชนที่มีรายได้ต่ำกว่า 1.8 ล้านบาท • ลดหย่อนภาษีบริษัทหรือ หจก. ที่จัดอบรมสัมมนาในประเทศ • ยกเว้นภาษีเพื่อสนับสนุนธุรกิจร่วมทุน • ยกเว้นภาษีที่เกี่ยวกับปรับปรุงโครงสร้างหนี้ • ยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มธุรกิจเฉพาะสำหรับบริษัท • ที่โอนกิจการบางส่วน
ประเด็นสำคัญ วิกฤตเศรษฐกิจคาดว่าจะใช้ระยะเวลา นานกว่า 2 ปี ควรกำหนดแนวทางดังนี้ • กำหนดมาตรการ/แนวทางในการช่วยเหลืออย่าง ต่อเนื่อง เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ • จัดลำดับความสำคัญเร่งด่วน โดยเน้นกลุ่มที่ได้รับ ผลกระทบมากเป็นลำดับแรก เช่น กลุ่มผู้ว่างงาน จากวิกฤตเศรษฐกิจ
การแก้ไขปัญหาด้านแรงงานต้องมีการบูรณาการทั้งระบบการแก้ไขปัญหาด้านแรงงานต้องมีการบูรณาการทั้งระบบ • กำหนดทิศทาง/เป้าหมายการดำเนินงาน (กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่) • กิจกรรมที่สอดคล้องกับการแก้ไขปัญหาตามลำดับความสำคัญ • เชื่อมโยงทั้งระดับภาพรวม และระดับพื้นที่ • ภารกิจของหน่วยงานต่างๆ ต้องมีความชัดเจน ไม่ซ้ำซ้อน
ควรลงทุนในโครงการที่มีผลกระทบ ต่อเศรษฐกิจและสังคมสูง • เป็นโครงการที่กระตุ้นให้เกิดการบริโภค • เน้นโครงการลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐที่มีการใช้ • แรงงานมาก และมีผลต่อการท่องเที่ยวสูง หรือ • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นของประเทศ • ลักษณะโครงการต้องสามารถเร่งฟื้นฟูเศรษฐกิจ • ในช่วงที่เศรษฐกิจฟื้นตัว
ส่งเสริมการจ้างงานในระดับพื้นที่ • โครงการส่งเสริมการจ้างงานด้านสาธารณูปโภค • พื้นฐานในชุมชน • การดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ และเด็กเล็กในชุมชน • การส่งเสริมอาชีพอิสระ ที่สอดคล้องกับ ความต้องการ • ของตลาด และไม่เกิดความเสี่ยง
ให้ความสำคัญกับโครงการที่ก่อให้เกิดให้ความสำคัญกับโครงการที่ก่อให้เกิด • การจ้างงานที่ถาวร โดยเฉพาะงานที่เป็นที่ต้องการ • ของตลาดแรงงาน • ผู้ช่วยพยาบาล • ผู้ทำงานบ้าน โดย • ปรับทัศนคติให้เกิดการยอมรับ • สร้างระบบสวัสดิการและการคุ้มครองที่เหมาะสม