220 likes | 353 Views
อาเซียนและสุขภาพ. ชะเอม พัชนี สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๖. familyweekend.co.th. Health Indicators. Source: World Health Statistics 2012. ประชาคมอาเซียน ( ASEAN Community – AC). One Vision, One Identity, One Community.
E N D
อาเซียนและสุขภาพ ชะเอม พัชนีสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๖
Health Indicators Source: World Health Statistics 2012
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community – AC) One Vision, One Identity,One Community
ประชาคมอาเซียน และความเกี่ยวข้องกับสุขภาพ • ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค • อยู่ร่วมกันโดยสันติสุข • แก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งโดยสันติวิธี • เป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว • มีความสามารถในการแข่งขัน • มีการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค • สามารถบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก เป็นประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีสังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน ให้ประชาชนมีการกินดีอยู่ดี ปราศจากโรคภัย มีสิ่งแวดล้อมที่ดี มีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
ประชาคมสัมคมและวัฒนธรรมอาเซียนASEAN Socio-cultural Community[ASCC]
การประชุมรัฐมนตรีสาธารณสุขอาเซียนครั้งที่ ๑๑ (กรกฎาคม ๒๕๕๕) ASEAN Health Ministers Retreat: • ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาสุรา (recommended collective commitment to tackle alcohol problems) • การจัดตั้งเครือข่ายแอลกอฮอล์ของอาเซียน (establish the “ASEAN Alcohol Control Network”) • การนำอาเซียนเข้าสู่การเป็นภูมิภาคปลอดบุหรี่ (application of several measures to consolidate actions on 100% smoke-free ASEAN and reinforce the WHO FCTC)
ASEAN Health Ministers Joint Statements (1) ASEAN Health Ministers • Commit to intensify ASEAN cooperation in health development and to mobilise resources at the national, regional, and international levels to tackle health priorities: - NCDs - tobacco consumption - UHC - EIDs - health emergencies - dengue - artemisinin-resistant malaria - zero new infection of HIV/AIDS in the region
ASEAN Health Ministers Joint Statements (2) ASEAN Plus Three Health Ministers • พัฒนาศักยภาพเพื่อการจัดการระบบสุขภาพเพื่อให้สนับสนุนการมีระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า • จัดตั้ง ASEAN +3 network on UHC • นำวาระ UHC เข้าสู่การหารือในระดับสูง • การจัดการปัญหา NCDs
ASEAN Health Ministers Joint Statements (3) ASEAN-China Health Ministers • นำวาระtobacco control เข้าสู่การประชุมระดับรัฐมนตรีอื่นๆ • การจัดการปัญหา NCDs • การจัดหางบประมาณและบุคลากรเพื่อสนับสนุนความร่วมมือในภูมิภาคและการทำ UHC ให้สำเร็จ
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนASEAN Economic Community[AEC]
การเป็นตลาดเดียวกันและฐานการผลิตร่วมกันการเป็นตลาดเดียวกันและฐานการผลิตร่วมกัน ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน (ASEAN Trade in Good Agreement -ATIGA) ความปลอดภัยของสินค้าเภสัชกรรมในอาเซียน (GMP) ความตกลงการค้าบริการของอาเซียน (AFAS) การจัดทำข้อตกลงการยอมรับร่วมในสาขาบริการ (MRA) ความตกลงการลงทุนของอาเซียน (ACIA) กรอบแผนงานบูรณาการความมั่นคงด้านอาหารของอาเซียน (AIFS)/ แผนกลยุทธ์ความมั่นคงด้านอาหารของอาเซียน (SPAFS) / ความปลอดภัยของอาหาร กรอบแผนงานรายสาขาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและความปลอดภัยอาหารของอาเซียน (AFCC)
ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน(ASEAN Trade in Good Agreement -ATIGA) ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ • ครอบคลุมประเด็นด้านการค้า เช่น มาตรการที่มิใช่ภาษี มาตรการด้านศุลกากร SPS TBT ส่วนในเรื่องของกฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า • สินค้าที่จะได้รับประโยชน์จากการลดภาษีจะต้องมีสัดส่วนมูลค่าที่เกิดขึ้นในอาเซียน (ASEAN Local Content) อย่างน้อยร้อยละ ๔๐ หรือมีการผลิตจนเกิดการเปลี่ยนพิกัดในระดับ ๔ หลัก (Change in Tariff Heading : CTH) และสามารถคำนวณวัตถุดิบในอาเซียนแบบสะสม (Cumulative Rules of Origin) โดยกำหนดอัตราขั้นต่ำของวัตถุดิบเท่ากับร้อยละ ๒๐ • ประเทศสมาชิกอาเซียนเดิม ๖ ประเทศ (ไทย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย สิงคโปร์ บรูไน) ต้องลดภาษี ดังนี้ • ๑ มกราคม ๒๕๔๖ ร้อยละ ๖๐ ของรายการสินค้าทั้งหมด ลดภาษีลงเหลือร้อยละ ๐ • ๑ มกราคม ๒๕๕๐ ร้อยละ ๘๐ ของรายการสินค้าทั้งหมด ลดภาษีลงเหลือร้อยละ ๐ • ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๓ ไทยได้ลดภาษีสินค้าทั้งหมดลงเหลือร้อยละ ๐ แล้ว ยกเว้นสินค้าอ่อนไหว ๔ รายการ คือ กาแฟ มันฝรั่ง มะพร้าวแห้ง และไม้ตัดดอก เก็บภาษีนำเข้าร้อยละ ๕
แนวทางการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ: ด้านบริการ (ASEAN) • ไม่มีข้อจำกัดการให้บริการ ข้ามพรมแดน • ทยอยให้ต่างชาติถือหุ้นได้ถึง 70% • ให้คนต่างชาติเข้ามาทำงาน ได้มากขึ้น สาขาเร่งรัด: คอมพิวเตอร์,โทรคมนาคม, ธุรกิจท่องเที่ยวสุขภาพ AEC: • ไม่มีข้อจำกัดการให้บริการข้ามพรมแดน • ทยอยให้ต่างชาติถือหุ้นได้ถึง 70% • ให้คนต่างชาติเข้ามาทำงานได้มากขึ้น AEC: สาขาเร่งรัด: โลจิสติกส์ สาขาอื่นๆ: วิชาชีพ, ก่อสร้าง, จัดจำหน่าย, การศึกษา, สิ่งแวดล้อม, ขนส่ง, และอื่นๆ ทั้งหมด • ไม่มีข้อจำกัดการให้บริการข้ามพรมแดน • ทยอยให้ต่างชาติถือหุ้นได้ถึง 70% • ให้คนต่างชาติเข้ามาทำงานได้มากขึ้น AEC: ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
ความคืบหน้าของการเจรจาการค้า ภายใต้ AFAS • มีการลงนามในข้อผูกพันการค้าบริการภายใต้กรอบ AFAS ไปแล้ว ๗ ชุด • เสนอข้อผูกพัน ชุดที่ ๘ • เป้าหมายการเปิดตลาดสำหรับข้อผูกพัน ชุดที่ ๘ ของอาเซียน • Mode ๑ต้องไม่มีข้อจำกัดใดๆ ทั้งสิ้น • Mode ๒ ต้องไม่มีข้อจำกัดใดๆ ทั้งสิ้น • Mode ๓ต้องอนุญาตให้ผู้ให้บริการอาเซียนเข้ามาจัดตั้งธุรกิจหรือถือหุ้นในประเทศได้ โดยอนุญาตให้เข้ามาถือหุ้นอย่างน้อยร้อยละ ๗๐ ในสาขาเร่งรัด (โทรคมนาคม คอมพิวเตอร์ สุขภาพ และท่องเที่ยว) และให้เข้ามาถือหุ้นอย่างน้อยร้อยละ ๕๑ ในสาขาบริการอื่นๆ นอกจากนี้ สมาชิกอาเซียนต้องยกเลิกกฎระเบียบที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าสู่ตลาดบริการให้เหลือไม่เกิน ๑ มาตรการ • Mode ๔ไทยยังไม่ข้อผูกพันจนกว่าอาเซียนจะมีการกำหนดเป้าหมายการลด/ยกเลิกข้อจำกัดเสร็จสิ้น
การจัดทำร่างข้อตกลงยอมรับร่วม (๑)(Mutual Recognition Arrangements: MRAs) • ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายแรงงานภายใต้กรอบความตกลงด้านการค้าบริการของอาเซียน (ASEAN Framework Agreement on Service - AFAS) • เป็นพันธกรณีให้อาเซียนยอมรับร่วมกันในเรื่อง • คุณสมบัติแรงงานฝีมือ • ประวัติการศึกษา • ประสบการณ์การทำงาน ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ เพื่ออำนวยความสะดวกในขั้นตอนการขอใบอนุญาต
การจัดทำร่างข้อตกลงยอมรับร่วม (๒)(Mutual Recognition Arrangements: MRAs) • อาเซียนได้ลงนามข้อตกลง MRAs ร่วมกันใน 7 สาขาวิชาชีพ และ 1 สาขาบริการ • วิชาชีพวิศวกร (ลงนามในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2005) • วิชาชีพพยาบาล (ลงนามในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2006) • วิชาชีพสถาปนิก (ลงนามในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2007) • วิชาชีพนักสำรวจ (ลงนามในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2007) • วิชาชีพแพทย์ (ลงนามในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2009) • วิชาชีพทันตแพทย์ (ลงนามในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2009) • วิชาชีพนักบัญชี (ลงนามในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2009) • บริการด้านการท่องเที่ยว (ลงนามในเดือนมกราคม ค.ศ. 2009) • ข้อตกลงยอมรับร่วมนี้เป็นหนี่งของกระบวนการเตรียมความพร้อมสู่การเปิดเสรีใน Mode ที่ ๔ • ตามเนื้อหาของ MRA บุคลากรต้องมีประสบการณ์ตามที่กำหนด และปฏิบัติตามกฏระเบียบของประเทศที่ไปปฏิบัติงาน