520 likes | 898 Views
การปรับระบบการบริหารงานบุคคล ของข้าราชการพลเรือน ในสถาบันอุดมศึกษา. ก.พ. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (25 มกราคม 2551) โครงสร้างตำแหน่ง บัญชีเงินเดือน หลักเกณฑ์ การบริหารงานบุคคล. 66. ,. 480. 66. ,. 480. ใหม่. โครงสร้างตำแหน่งและบัญชีเงินเดือน (ก.พ.).
E N D
การปรับระบบการบริหารงานบุคคลการปรับระบบการบริหารงานบุคคล ของข้าราชการพลเรือน ในสถาบันอุดมศึกษา
ก.พ. • พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (25 มกราคม 2551) • โครงสร้างตำแหน่ง • บัญชีเงินเดือน • หลักเกณฑ์การบริหารงานบุคคล
66 , 480 66 , 480 ใหม่ โครงสร้างตำแหน่งและบัญชีเงินเดือน (ก.พ.) โครงสร้างตำแหน่งและบัญชีเงินเดือน 66,480 66,480 (K5) (S2) สูง ทรงคุณวุฒิ ทรงคุณวุฒิ 59,770 59,770 59,770 59,770 เดิม เดิม 41,720 41,720 53,690 53,690 (O4) (M2) ทักษะพิเศษ ทักษะพิเศษ สูง ) 59,770 48,220 59,770 48,220 64,340 64,340 (K4) 31,280 31,280 (O3) ) เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญ 47,450 47,450 ต้น (S1) 29,900 29,900 อาวุโส อาวุโส 48,700 48,700 50,550 50,550 50,550 50,550 15,410 15,410 (K3) ต้น (M1) บริหาร ชำนาญการพิเศษ ชำนาญการพิเศษ 25,390 25,390 33,540 33,540 21,080 21,080 ชำนาญงาน ชำนาญงาน (O2) อำนวยการ 36,020 36,020 (K2) 10,190 10,190 ชำนาญการ ชำนาญการ บัญชีเงินเดือน แยกตามประเภทตำแหน่ง • บัญชีเงินเดือน แยกตามประเภทตำแหน่ง • 14,330 14,330 เน้น ความสามารถบุคคลควบคู่กับค่างาน • เน้น ความสามารถบุคคลควบคู่กับค่างาน • 18,190 18,190 22,220 22,220 บัญชีเงินเดือน แบบช่วง • บัญชีเงินเดือน แบบช่วง • ) (O1) ปฏิบัติงาน ปฏิบัติการ ปฏิบัติงาน ปฏิบัติการ (K1) 7,940 7,940 4,630 4,630 วิชาการ • บัญชีเงินเดือนเดียวสำหรับทุกลักษณะงาน ทั่วไป • บัญชีเงินเดือน แบบขั้น
ก.พ.อ. พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือนใน สถาบันอุดมศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 • ม.16 การได้รับเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งให้เทียบเคียงกับบัญชีเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งตามกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน และเงินประจำตำแหน่ง หรือตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน (เสนอคณะรัฐมนตรี) มติ ครม. 21 กันยายน 2553
มติ ครม. 21 กันยายน 2553 อนุมัติหลักการ • ร่าง) กฎ ก.พ.อ. ว่าด้วยการกำหนดบัญชีเงินเดือนขั้นต่ำ ขั้นสูง (บัญชีเงินเดือน 4 บัญชี) • ร่าง) กฎ ก.พ.อ. ว่าด้วยการให้ข้าราชการในสถาบันอุดมศึกษาได้รับเงินเดือน (ตามประเภทตำแหน่ง) • ให้ปรับปรุงร่าง พรฎ. ว่าด้วยการรับเงินประจำตำแหน่งให้สอดคล้องกับข้าราชการพลเรือนสามัญ (ต้องเสนอ ครม.ใหม่) • เห็นชอบให้นำระบบการเลื่อนเงินเดือนของข้าราชการพลเรือนสามัญมา ปรับใช้กับข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา
ก.พ.อ. • เทียบเคียงโครงสร้างตำแหน่งของ ก.พ.อ.(เดิม) กับ ก.พ.(ใหม่) • จัดประเภทตำแหน่งตามกลุ่มลักษณะงานตามหลักการของ Broadbanding แทนการมีมาตรฐานกลาง(Common Level / C) 11 ระดับ (ยกเลิกระบบซี) • กำหนดตำแหน่งเป็น 3 ประเภท • ตำแหน่งวิชาการ • ตำแหน่งประเภทผู้บริหาร • ตำแหน่งประเภททั่วไป วิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ • กำหนดบัญชีเงินเดือนแบบช่วงกว้าง(แท่ง) 4 บัญชี
โครงสร้างตำแหน่ง ๏ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.2547 และฉบับที่ 2 พ.ศ.2551 ๏ กฎ ก.พ.อ.ว่าด้วยการกำหนดตำแหน่งข้าราชการพลเรือน ในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2552 ( 9 ก.ย.52) ๏ ประกาศ ก.พ.อ. เรื่องมาตรฐานการจำแนกตำแหน่งข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.2552 ( 9 ก.ย.52)
โครงสร้างตำแหน่ง ศ.ได้รับเงินเดือนขั้นสูง ระดับเชี่ยวชาญพิเศษ ศาสตราจารย์ ระดับชำนาญงานพิเศษ ระดับหัวหน้าสำนักงานอธิการบดี หรือเทียบเท่า ระดับเชี่ยวชาญ รองศาสตราจารย์ ระดับชำนาญการพิเศษ ระดับชำนาญงาน ระดับผอ.กองหรือเทียบเท่า ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับชำนาญการ ระดับปฏิบัติงาน ตำแหน่งประเภทผู้บริหาร อาจารย์ ระดับปฏิบัติการ ตำแหน่งประเภททั่วไป ส่วนราชการตาม กม. ว่าด้วยการจัดตั้งสถาบัน อุดมศึกษา ตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะ หรือเชี่ยวชาญเฉพาะ ตำแหน่งวิชาการ
บัญชีเงินเดือนและการได้รับเงินเดือนบัญชีเงินเดือนและการได้รับเงินเดือน 1) กฎ ก.พ.อ. ว่าด้วยการกำหนดบัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงของ ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.2553 ลงวันที่ 29 ตุลาคม 2553 2) หลักเกณฑ์และวิธีการให้ข้าราชการพลเรือนในสถาบัน อุดมศึกษาได้รับเงินเดือน (18 พฤศจิกายน 2553)
64, 340 เชี่ยวชาญพิเศษ 47,450 66,480 ศ. 41,720 59,770 64,340 ชำนาญงานพิเศษ ผอ.สนอ.ฯ 59,770 เชี่ยวชาญ 59,770 15,410 59,770 31,280 รศ. 29,900 33,540 50,550 50,550 ชำนาญงาน ผอ.กองฯ 50,550 ชำนาญการพิเศษ ผศ. 25,390 10,190 21,080 ตำแหน่งประเภทผู้บริหาร 18,190 36,020 36,020 36,020 ปฏิบัติงาน ชำนาญการ อาจารย์ 4,630 9,700 9,700 14,330 22,220 ปฏิบัติการ ตำแหน่งวิชาการ 7,940 บัญชีเงินเดือน 36,020 4 สายงาน • 4 สายงาน( ระดับ 7 เดิม) • (1) จ.บริหารงานการเงินและบัญชี • (2) จ.บริหารงานพัสดุ • (3) จ.บริหารงานธุรการ • (4) จ.บริหารงานอาคารสถานที่ ตำแหน่งประเภททั่วไป ตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะ/เชี่ยวชาญเฉพาะ
เทียบเคียงแท่งเงินเดือน ก.พ. & ก.พ.อ.และการปรับเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ ก.พ. ก.พ.อ.(เดิม) ก.พ.อ.(ใหม่) ** แพทย์ / นักกฎหมายกฤษฎีกา 66,480 11 ท/H 66,480 64,340 11 บ/H ** ศาสตราจารย์ 11 11บ/H ศ. (11) 64,340 28,550 10/1 11 ท/H 64,340 (10-11) ทรงคุณวุฒิ 59,770 10/H ศาสตราจารย์ 9 - 10 ศ. ศ. 28,550 41,720 10/9 (9-10) 23,230 9/1 59,770 10/H 9/H 59,770 50,550 10/H รองศาสตราจารย์ 7-9 รศ. (9) (7-9) รศ. เชี่ยวชาญ 23,230 29,900 15,410 9/6 7/1 50,550 9/H 50,550 9/H 47,450 8/H (8) ชำนาญการพิเศษ ผศ. 18,910 21,080 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 6-8 ผศ. (6-8) 8/3 36,020 8/16 (6-7) ชำนาญการ 6/1 12,530 12,530 14,330 8/16 36,020 6/3.5 7/H 33,540 อาจารย์ 4 - 7 22,220 5/H อาจารย์ ขั้นต่ำชั่วคราว (4-7) อาจารย์ (3-5) 13,110 ป.เอก ปฏิบัติการ 5/6 5/6 13,110 9,700 3/4 4/4 ป.โท 9,700 7,940 4/4 วิชาการ ตำแหน่งวิชาการ
เทียบเคียงแท่งเงินเดือน ก.พ. & ก.พ.อ.และการปรับเข้าสู่ตำแหน่งประเภทผู้บริหาร ก.พ.อ.(เดิม) ก.พ.อ.(ใหม่) ก.พ. 59,770 10/H 50,550 59,770 10/H 9/H ผอ.สำนักงานอธิการบดี/วิทยาเขต 9 (9) (บส.9) สูง บริหาร 9 31,280 ผอ.สำนักงานอธิการบดี/วิทยาเขต 8 31,280 9/7 9/7 23,230 9/1 • 23,230 9/1 23,230 9/1 • 47,450 8/H 50,550 9/H 50,550 9/H ผอ.กอง 7 - 8 • บริหาร 8 (8) (บก.8) ต้น 25,390 18,910 8/1 25,390 8/7 หัวหน้าสำนักงานเลขานุการคณะ 7, 8 8/7 18,910 33,540 7/H 8/1 18,910 (7) 8/1 บริหาร 7 15,410 7/1 ขั้นต่ำชั่วคราว ขั้นต่ำชั่วคราว อำนวยการ บริหาร
เทียบเคียงแท่งเงินเดือน ก.พ. & ก.พ.อ.และการปรับเข้าสู่ตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะ/เชี่ยวชาญเฉพาะ ก.พ. ก.พ.อ.(เดิม) ก.พ.อ.(ใหม่) **แพทย์ / นักกฎหมายกฤษฎีกา 66,480 ** 11บ/H 64,340 11ท/H 59,770 10/H 64,340 เชี่ยวชาญพิเศษ 10 (10-11) เชี่ยวชาญพิเศษ ทรงคุณวุฒิ เชี่ยวชาญพิเศษ (10) ที่ปรึกษา 10 28,550 41,720 28,550 10/9 28,550 41,720 10/1 10/9 59,770 50,550 10/H เชี่ยวชาญ 9 59,770 10/H 9/H เชี่ยวชาญ หัวหน้าฝ่ายพยาบาล 9 (9) (9) เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญ 23,230 29,900 หัวหน้าฝ่ายเภสัชกรรม 9 9/6 23,230 23,230 29,900 9/6 9/1 ผู้ตรวจการพยาบาล 7-8 50,550 9/H 50,550 9/H 8/H ชำนาญการ 7-8 47,450 (8) ชำนาญการพิเศษ หัวหน้าหน่วยงาน 8 ชำนาญการพิเศษ 18,910 21,080 (7-8) ชำนาญการ 8/3 พยาบาลถวายงาน 7,8 18,910 21,080 8/3 36,020 หัวหน้าหน่วยงาน 7 8/16 15,410 7/1 36,020 8/16 (6-7) หัวหน้าหอผู้ป่วย 7 ชำนาญการ (เลขานุการภาควิชา 7) ชำนาญการ 33,540 7/H 12,530 ชำนาญการ 6 / (7 ว เดิม) ปฏิบัติการระดับกลาง 6,7 14,330 12,530 14,330 ชำนาญการ 6 6/3.5 6/H 27,500 6/3.5 5/H 22,220 4/4 22,220 5/H ปฏิบัติการระดับกลาง 3-6 9,700 (3-5) ปฏิบัติการระดับกลาง 4-7 ปฏิบัติการ ปฏิบัติการระดับกลาง 3-5 ปฏิบัติการ 3/4 9,700 4/4 7,940 7,940 3/4 6,800 7,940 3/4 ขั้นต่ำชั่วคราว วิชาการ วิชาชีพเฉพาะ หรือ เชี่ยวชาญเฉพาะ ขั้นต่ำชั่วคราว
เทียบเคียงแท่งเงินเดือน ก.พ. & ก.พ.อ.และการปรับเข้าสู่ตำแหน่งประเภททั่วไป ก.พ. 59,770 10/H ** สายงานทางคีตศิลป์ ดุริยางคศิลป์ ** ทักษะพิเศษ (9) ก.พ.อ.(เดิม) ก.พ.อ.(ใหม่) 48,220 9/18.5 8/H 47,450 47,450 8/H 8/H 47,450 * *19 สายงานที่ได้ถึงขั้นสูง หัวหน้างาน 8 หัวหน้างาน 7 ชำนาญการ 7-8 36,020 36,020 ชำนาญการ 7-8 ชำนาญการ (7-8) ชำนาญงานพิเศษ อาวุโส 15,410 15,410 15,410 7/1 7/1 7/1 27,500 6/H 33,540 7/H 33,540 7/H ประสบการณ์ 5,6 / ชำนาญการ 6 ประสบการณ์ 5,6 / ชำนาญการ6 ชำนาญงาน ประสบการณ์ /ชำนาญการ (5-6) ชำนาญงาน 10,190 5/1 10,190 5/1 10,190 5/1 18,190 18,190 4/H 18,190 4/H 4/H ประสบการณ์ 4 ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงาน ปฏิบัติการ ปฏิบัติการระดับต้น (1-3 ) (2,4) /ประสบการณ์ 4 (1-4) ปฏิบัติการระดับต้น 1-3 , 2-4 4,630 1/1 4,630 1/1 4,630 1/1 ทั่วไป ทั่วไป
การได้รับเงินเดือน • ได้รับเท่าที่ได้รับอยู่เดิม • หากเงินเดือนต่ำกว่าขั้นต่ำ ให้ได้รับไม่ต่ำกว่าขั้นต่ำชั่วคราว • หากเงินเดือนต่ำกว่าขั้นต่ำชั่วคราว ให้ปรับเงินเดือนปีละ 1 ครั้ง หลังเลื่อนเงินเดือนประจำปี ในอัตราเท่ากับครึ่งหนึ่งของความต่างระหว่างเงินเดือนกับขั้นต่ำ(จริง) แต่ไม่เกิน 10 % ของอัตราเงินเดือน • หากเงินเดือนเต็มขั้น(30 ก.ย.53) และเพดานเงินเดือนขยาย (21 ก.ย.53) • จะได้รับการพิจารณาเลื่อนเงินเดือนประจำปี(1 ต.ค.53) ตามผลการปฏิบัติงานโดยเลื่อนเป็นขั้น(แบบเดิม) ตามบัญชีเลื่อนขั้นเงินเดือนชั่วคราว
วิธีการเลื่อนเงินเดือนวิธีการเลื่อนเงินเดือน • ค่ากลาง (Mid-Point) (ใช้เลื่อนระดับตำแหน่ง) • ค่าที่ใช้เป็นฐานในการคำนวณ (Reference Point) • เลื่อนเงินเดือนเป็น %จาก Reference Point
MAX ค่ากลางบน Mid-Point ค่ากลางล่าง MIN Reference Point Mid – Point / Reference Point
64, 340 เชี่ยวชาญพิเศษ 47,450 66,480 ศ. 59,770 64,340 ชำนาญงานพิเศษ 41,720 ผอ.สนอ.ฯ 59,770 เชี่ยวชาญ 59,770 15,410 59,770 31,280 รศ. 29,900 33,540 50,550 50,550 ชำนาญงาน ผอ.กองฯ 50,550 ชำนาญการพิเศษ ผศ. 25,390 10,190 21,080 ตำแหน่งประเภทผู้บริหาร 18,190 36,020 36,020 36,020 ปฏิบัติงาน ชำนาญการ อาจารย์ 4,630 9,700 9,700 14,330 22,220 ตำแหน่งประเภททั่วไป ปฏิบัติการ ตำแหน่งวิชาการ 7,940 ตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะ/เชี่ยวชาญเฉพาะ ค่ากลาง(Mid Point) 53,030 31,430 54,100 45,525 44,835 45,525 21,865 37,970 35,815 37,970 13,255 24,565 25,175 17,665
60,290 44,260 30,300 52,650 60,290 52,650 19,950 44,260 58,690 52,310 30,600 15,730 59,770 50,550 10,790 53,360 15,390 31,680 20,350 45,150 44,060 18,840 53,360 31,680 45,140 53,360 45,540 37,980 45,530 37,970 66,480 64,340 23,230 59,770 18,910 50,550 36,020 24,580 24,570 50,550 9,700 36,020 43,190 35,830 25,190 35,820 31,220 25,180 18,910 12,530 ทั่วไป 18,190 13,270 13,260 4,630 บริหาร ตำแหน่งวิชาการ 54,110 53,370 44,850 53,360 44,840 35,830 35,820 64,340 ทั่วไป วิชาชีพเฉพาะเชี่ยวชาญเฉพาะ 59,770 53,040 44,850 53,030 22,200 44,840 28,550 23,230 17,680 17,670 47,450 36,020 7,940 33,540 31,440 39,440 28,280 30,870 27,710 28,270 31,430 21,880 28,270 21,870 28,270 16,030 ฐานในการคำนวณ 2 ค่า และช่วงเงินเดือนสำหรับการเลื่อนเงินเดือนประจำปี 15,410 15,410 10,190 ระดับ 7 เดิม (หัวหน้างาน) ชำนาญการ(7-8)
27,500 17,680 19,950 17,670 15,390 7,940 ตัวอย่างการเลื่อนเงินเดือน นาย ก ดำรงตำแหน่งนักวิทยาศาสตร์ ระดับปฏิบัติการ เงินเดือน 12,530 บาท ได้รับการพิจารณาให้เลื่อนเงินเดือน ณ 1 เม.ย.54 = 4 % วิธีคำนวณ 1) 12,530 x 4 /100 = 501.20 บาท 2) 15,390 x 4 /100 = 615.60 บาท 12,530 + 620 = 13,150 บาท
50,550 35,830 43,190 35,820 31,220 18,910 ตัวอย่างการเลื่อนเงินเดือน นาง ข ดำรงตำแหน่งพยาบาล ระดับชำนาญการพิเศษ เงินเดือน 40,590 บาท ได้รับการพิจารณาให้เลื่อนเงินเดือน ณ 1 เม.ย.54 = 5 % วิธีคำนวณ 1) 43,190 x 5 /100 = 2,159.50 บาท 2) เงินเดือนใหม่ = 40,590 + 2,160 = 42,750 บาท
หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเลื่อนเงินเดือนหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเลื่อนเงินเดือน • เลื่อนปีละ 2 ครั้ง (1 เม.ย. / 1 ต.ค.) • เลื่อนเป็น % จากฐานในการคำนวณ ตามผลการประเมินการปฏิบัติงาน • เลื่อนภายในวงเงิน 6 % ของเงินเดือนรวม(ครึ่งปี 3 %) • ผลงานดีเด่น เลื่อนได้ไม่เกิน 6 %: ครึ่งปี(ของค่ากลาง) • ผลงานระดับลดหลั่นลงไป % การเลื่อนกำหนดได้เอง • เงินเดือนถึงขั้นสูงได้รับค่าตอบแทนพิเศษเป็น % ของฐานในการคำนวณ
ใหม่ เดิม ดีเด่น 4 - 6 % ดีเด่น 1 ขั้น ( 4 %) ดีมาก 3 - 4 % ดี 2 - 3 % ยอมรับได้ 0.5 ขั้น (2 %) พอใช้ 1 - 2 % ต้องปรับปรุง ไม่ได้เลื่อน ต้องปรับปรุง ไม่ได้เลื่อน ตัวอย่างการกำหนดร้อยละของการเลื่อนเงินเดือนตามผลการประเมินฯ
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการเลื่อนเงินเดือนแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการเลื่อนเงินเดือน • ประกาศรายชื่อเฉพาะผลการประเมินระดับดีเด่น/ดีมาก • แจ้งผลการเลื่อนเงินเดือนเฉพาะตัวบุคคล(เป็นความลับ) • ถ้าเงินเดือนยังไม่ถึงขั้นต่ำของกระบอกเงินเดือน ให้ปรับเงินเดือนได้เท่ากับครึ่งหนึ่งของความต่างระหว่าง อัตราขั้นต่ำของกระบอกกับเงินเดือนที่ได้รับแต่ไม่เกิน 10 % ของอัตราเงินเดือน
แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงานแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงาน
การประเมินผลการปฏิบัติงานใน ม.มหิดล เป็นไปตามข้อบังคับที่สภามหาวิทยาลัยกำหนด
7-8 ชำนาญการ 11 ศ. เงินเดือน ถึง ขั้นต่ำ 10 เชี่ยวชาญพิเศษ 2 ปี 6 ชำนาญการ 2 ปี 9-10 ศ. 9 เชี่ยวชาญ 4,5 5,6 4,5,6 ปฏิบัติการระดับต้น ที่มีประสบการณ์. 3 ปี 2 ปี ปวช/ปวส 16 ปี อนุปริญญา 12 ปี 7-9 รศ. 7-8 ชำนาญการ ป.ตรี 9 ปี ป.โท 5 ปี ป.เอก 2 ปี 3 ปี 4-7 3-6 บางสายงานที่บรรจุวุฒิ ป.โท ปฏิบัติการระดับกลาง 6-8 ผศ. 2-4 1-3 ปฏิบัติการระดับต้น 3-7 อาจารย์ ป.ตรี 9 ปี ป.โท 5 ปี ป.เอก 2 ปี กลุ่มทั่วไป เชี่ยวชาญเฉพาะ วิชาชีพเฉพาะ กลุ่มทั่วไป เชี่ยวชาญเฉพาะ วิชาชีพเฉพาะ กลุ่มวิชาการ ป.ตรี ขึ้นไป ต่ำกว่า ป.ตรี การเลื่อนระดับตำแหน่ง(เกณฑ์เดิม)
ตำแหน่งวิชาการ ไม่เปลี่ยนแปลง • ประกาศ ก.พ.อ. เรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550 (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2551 (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2552 และ ประกาศของมหาวิทยาลัยมหิดลที่เกี่ยวข้อง
การเลื่อนระดับตำแหน่ง(ใหม่)การเลื่อนระดับตำแหน่ง(ใหม่) หลักการ • การกำหนดระดับตำแหน่งต้องยึดหลักการวิเคราะห์ภารกิจของหน่วยงานและประเมินค่างาน คุณสมบัติ • เงินเดือนถึงค่ากลางของระดับตำแหน่ง(ตัวเอง) หรือ ถึงขั้นต่ำของระดับตำแหน่งใหม่ที่จะเลื่อน • ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง .... ปี • ผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา • ผลการประเมินสมรรถนะ • ผลงานวิชาการตามเกณฑ์ที่กำหนด
ตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะ/เชี่ยวชาญเฉพาะตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะ/เชี่ยวชาญเฉพาะ ระดับเชี่ยวชาญพิเศษ 2 ปี MID-POINT • การเลื่อนระดับตำแหน่ง • ค่ากลางของกระบอกเงินเดือน • ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง .... ปี • ผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา • ผลการประเมินสมรรถนะ • ผลงานฯ เชี่ยวชาญพิเศษ • จริยธรรมและจรรยาบรรณฯ • การใช้ความรู้ความสามารถฯ • การยอมรับฯ ระดับเชี่ยวชาญ 3 ปี ระดับชำนาญการ พิเศษ MID-POINT 4 ปี • การเลื่อนระดับตำแหน่ง • ค่ากลางของกระบอกเงินเดือน • ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง .... ปี • ผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา • ผลการประเมินสมรรถนะ • ผลงานฯ เชี่ยวชาญ • จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ • การใช้ความรู้ความสามารถฯ 6/4/2 ปี MID-POINT ระดับชำนาญการ • การเลื่อนระดับตำแหน่ง • ค่ากลางของกระบอกเงินเดือน • ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง .... ปี • ผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา • ผลการประเมินสมรรถนะ • ผลงานฯ ชำนาญการพิเศษ • จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ MIN ระดับปฏิบัติการ • การเลื่อนระดับตำแหน่ง • เงินเดือนถึงขั้นต่ำของระดับถัดไป • ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง .... ปี • ผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา • ผลการประเมินสมรรถนะ • ผลงานฯ ชำนาญการ • จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ระดับแรกบรรจุ รับเงินเดือนแตกต่างกัน ตามคุณวุฒิ (ตรี/โท/เอก)
ตำแหน่งประเภททั่วไป 6 ปี ระดับชำนาญงานพิเศษ 6/5/4 ปี ระดับชำนาญงาน ระดับปฏิบัติงาน MID-POINT MIN • การเลื่อนระดับตำแหน่ง • ค่ากลางของกระบอกเงินเดือน • ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง .... ปี • ผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา • ผลการประเมินสมรรถนะ • ผลงานแสดงความเป็นผู้ชำนาญงาน • พิเศษ • การเลื่อนระดับตำแหน่ง • เงินเดือนถึงขั้นต่ำระดับถัดไป • ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง .... ปี • ผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา • ผลการประเมินสมรรถนะ • ผลงานแสดงความเป็นผู้ชำนาญงาน ระดับแรกบรรจุ รับเงินเดือนแตกต่างกัน ตามคุณวุฒิ (ปวช./ปวท./ปวส.)
การนับระยะเวลาเพื่อการเลื่อนระดับตำแหน่งการนับระยะเวลาเพื่อการเลื่อนระดับตำแหน่ง วิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ
การนับระยะเวลาเพื่อการเลื่อนระดับตำแหน่งการนับระยะเวลาเพื่อการเลื่อนระดับตำแหน่ง ทั่วไป
การนับระยะเวลาเพื่อการเลื่อนระดับตำแหน่งการนับระยะเวลาเพื่อการเลื่อนระดับตำแหน่ง บริหาร
ผลงานแสดงความเป็นผู้ชำนาญงาน/ชำนาญการผลงานแสดงความเป็นผู้ชำนาญงาน/ชำนาญการ
ผลงานแสดงความเป็นผู้ชำนาญงาน/ชำนาญการผลงานแสดงความเป็นผู้ชำนาญงาน/ชำนาญการ
วิธีการแต่งตั้ง ฯ 1.วิธีปกติ - เสียงข้างมากของคณะกรรมการฯ 2.วิธีพิเศษ - กรณีมีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งไม่ตรง ตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง เช่น ระยะเวลา ดำรงตำแหน่งไม่ครบ / เลื่อนข้ามระดับตำแหน่ง - ต้องได้รับเงินเดือนไม่ต่ำกว่าขั้นต่ำของระดับ ตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง - ผลงานมีระดับคุณภาพสูงกว่าปกติ - เสียง 4 ใน 5 ของคณะกรรมการฯ
คณะกรรมการฯ 1.คณะกรรมการประเมินค่างาน ( 3- 5 คน) - มีหัวหน้างานโดยตรงร่วมเป็นกรรมการ 2.คณะกรรมการประเมินเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น • กลั่นกรองผลการประเมินค่างานและกรอบตำแหน่ง • ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน + สมรรถนะ • พิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อประเมินผลงาน/ จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ • สรุปผลเสนอสภามหาวิทยาลัย
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ(Reader)กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ(Reader)
การแต่งตั้งหัวหน้าหน่วยงานการแต่งตั้งหัวหน้าหน่วยงาน ที่ใช้วิชาชีพและไม่ได้ใช้วิชาชีพ ตำแหน่งระดับชำนาญการ/ ชำนาญการพิเศษ/ เชี่ยวชาญ (1) ผลสัมฤทธิ์ของงานตามตัวชี้วัดของตำแหน่งที่ครองอยู่ และ แนวคิดในการพัฒนาปรับปรุงงานในตำแหน่งใหม่ (2) ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับ ตำแหน่งที่จะประเมิน (3) สมรถนะทางการบริหาร
เชี่ยวชาญพิเศษ ชำนาญงานพิเศษ เชี่ยวชาญ ชำนาญงาน ชำนาญการพิเศษ ปฏิบัติงาน ชำนาญการ ปฏิบัติการ การเปลี่ยนตำแหน่งข้ามกลุ่ม ปฏิบัติงานวิชาชีพเฉพาะ/เชี่ยวชาญเฉพาะ ทั่วไป
เงินประจำตำแหน่งวิชาการเงินประจำตำแหน่งวิชาการ
เงินประจำตำแหน่งประเภทผู้บริหารเงินประจำตำแหน่งประเภทผู้บริหาร
เงินประจำตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะเงินประจำตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะ
เงินประจำตำแหน่งประเภทเชี่ยวชาญเฉพาะเงินประจำตำแหน่งประเภทเชี่ยวชาญเฉพาะ
ขอบคุณครับ ornkk@mahidol.ac.th 02 - 8496297