380 likes | 475 Views
ภาวะการหางานทำและ ความพึงพอใจของบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รุ่นปีการศึกษา 25 50. เสนอสภามหาวิทยาลัย 7 กุมภาพันธ์ 255 2. 1. ภาวะการได้งานทำของบัณฑิตรุ่นปีการศึกษา 2550. ภาวะการทำงานของบัณฑิตรุ่นปีการศึกษา 2550. มี.ค.50 (นศ. สำเร็จการศึกษา). บันทึกข้อมูลในระบบ 11 ส.ค.51 -30 ก.ย. 51
E N D
ภาวะการหางานทำและความพึงพอใจของบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ภาวะการหางานทำและความพึงพอใจของบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รุ่นปีการศึกษา 2550 เสนอสภามหาวิทยาลัย 7 กุมภาพันธ์ 2552
1. ภาวะการได้งานทำของบัณฑิตรุ่นปีการศึกษา 2550
ภาวะการทำงานของบัณฑิตรุ่นปีการศึกษา 2550 มี.ค.50 (นศ. สำเร็จการศึกษา) บันทึกข้อมูลในระบบ 11 ส.ค.51-30 ก.ย.51 (https://www.job.psu.ac.th/) 6 เดือนหลังสำเร็จการศึกษา
ภาวะการมีงานทำ บันทึกข้อมูลในระบบ 11 ส.ค.51-30 ก.ย.51 (https://www.job.psu.ac.th/) บัณฑิตที่ตอบแบบสอบถามระดับ ป.ตรี 4-6 ปี 5,120 คน ปีพ.ศ.ที่สำรวจ 2544 2545 2546 2547 2548 25492550 2551 รุ่นปีการศึกษา 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 ได้งานทำ 67.4 % 70.3 % 71.0% 76.1% 72.1% 70.5%69.4%66.2% ศึกษาต่อ 13.9 % 15.1 % 13.4% 13.0% 15.2% 14.4% 14.2% 11.1% ว่างงาน 18.7 % 14.6 % 15.6% 11.0% 12.7% 15.1% 16.4% 22.7% 6 เดือนหลังจบ 6 เดือนหลังจบ 5 เดือนหลังจบ 7 เดือนหลังจบ
สถิติการได้งานทำของบัณฑิต(ป.ตรี) มอ. 7 เดือน 6 เดือน 6 เดือน 6 เดือน (รุ่นปีการศึกษา 2535-2550) ลดลงกว่าปีที่แล้ว
อัตราการเรียนต่อ , % อยู่ในระดับ 11 – 15 %
อัตราการการว่างงาน , % มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
การประกอบอาชีพอิสระของบัณฑิต มอ. (รุ่นปีการศึกษา 2539-2550) อยู่ในระดับ 3 – 7 % มาตลอด
ภาวะการมีงานทำของบัณฑิต จำแนกรายคณะ กลุ่ม 1 – ได้งานทำเกือบทุกคน 1. แพทยศาสตร์ 2. พยาบาลศาสตร์ 3. ทันตแพทยศาสตร์ 4. เภสัชศาสตร์
ภาวะการมีงานทำของบัณฑิต จำแนกรายคณะ กลุ่ม 2 – ได้งานระหว่าง 72-76% 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 1. เทคโน&สิ่งแวดล้อม - - - - - - 76.9 75.9 2. วิทยาการจัดการ 57.465.572.176.771.569.771.571.8 3. พาณิชยศาสตร์ฯ 87.0 80.675.476.076.777.273.971.6 4. อุตสาหกรรมบริการ 87.0 80.675.484.581.476.278.671.6 5. เศรษฐศาสตร์ - - - - 69.266.764.571.6
ภาวะการมีงานทำของบัณฑิต จำแนกรายคณะ กลุ่ม 3 – ได้งานระหว่าง 60-69 % 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 1.ศึกษาศาสตร์ 64.476.272.175.570.975.8 79.5 68.8 2.วิศวกรรมศาสตร์ 63.8 62.5 70.0 75.8 67.0 69.5 69.2 68.3 3.ศิลปศาสตร์ - -- - - - - 64.4 4.อุตฯ เกษตร 61.871.075.481.770.272.768.8 70.2 5.มนุษยศาสตร์ฯ 62.4 65.7 65.2 73.8 74.9 69.5 70.6 63.9 6.ศิลปกรรม - -- - - 69.2 84.0 65.9 7.เทคโน&จัดการ - - 60.0 67.461.8 68.971.9 63.3
ภาวะการมีงานทำของบัณฑิต จำแนกรายคณะ กลุ่ม 4 - ได้งานระหว่าง 52-57 % 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 1.วิทยาศาสตร์ 53.9 54.1 56.4 62.8 58.0 53.2 49.5 56.6 2.วิทยาลัยอิสลามฯ 61.950.059.266.081.262.152.0 56.2 3.วิทยาการสื่อสาร - - - - - 59.1 81.1 52.8 4.ทรัพย์ 65.8 62.1 53.9 65.6 64.2 60.0 68.6 52.4 5.วิทย์ & เทคโนฯ 63.9 59.7 56.0 68.9 65.5 65.7 61.9 52.1
ภาวะการมีงานทำของบัณฑิต จำแนกรายคณะ กลุ่ม 5 - ได้งานทำน้อยกว่า 50% 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 นิติศาสตร์ - - - - - 21.4 24.7 47.1
ภาวะการมีงานทำของบัณฑิต จำแนกตามกลุ่มสาขาวิชา
สาขาที่หางานทำได้สูงของแต่ละคณะสาขาที่หางานทำได้สูงของแต่ละคณะ (ยกเว้นแพทย์ ทันตะ เภสัช พยาบาล และคณะที่มีเพียง 1 สาขาวิชา)
สาขาที่หางานทำได้ต่ำของแต่ละคณะสาขาที่หางานทำได้ต่ำของแต่ละคณะ (ยกเว้นแพทย์ ทันตะ เภสัช พยาบาล และคณะที่มีเพียง 1 สาขาวิชา)
แหล่งงาน/ประเภทอาชีพ (ปริญญาตรี 4-6 ปี) แหล่งงาน จำนวน % เอกชน 2,326 68.7 ราชการ/ลูกจ้าง/พนง.ของรัฐ 763 22.5 อาชีพอิสระ(กิจการตัวเอง/ครอบครัว) 183 5.4 พนง./ลูกจ้างรัฐวิสาหกิจ 621.8 อื่นๆ 381.1 พนง.ตปท. 16 0.5 รวม 3,388 100.0
ลักษณะงานที่ทำกับสาขาที่สำเร็จลักษณะงานที่ทำกับสาขาที่สำเร็จ ตรงสาขาเกือบทุกคน คณะแพทยศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ ร้อยละ 80 ขึ้นไป คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะอุตสาหกรรมเกษตร คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม คณะวิทยาการสื่อสาร คณะศึกษาศาสตร์ ร้อยละ 70-80 คณะวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ วิทยาลัยอิสลามศึกษา คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ คณะอุตสาหกรรมบริการ คณะนิติศาสตร์ ร้อยละ 60-69 คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีและการจัดการ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ ร้อยละ 50-59 บัณฑิตทำงานตรงสาขา ร้อยละ 69.1 และไม่ตรงสาขาร้อยละ 30.8
ภูมิภาคที่บัณฑิตทำงานภูมิภาคที่บัณฑิตทำงาน ส่วนใหญ่ทำงานในภาคใต้ จำนวน 2,263 คนหรือร้อยละ 66.8 และส่วนใหญ่หรือร้อยละ 38.9 (881 คน) ทำงานในจังหวัดสงขลา
เงินเดือนเฉลี่ยรายคณะ ป.ตรี 4-6 ปี เฉลี่ยรวม 14,361 บาท
เงินเดือนเฉลี่ยตามกลุ่มสาขา ป.ตรี 4-6 ปี
2. ความพึงพอใจของบัณฑิต 2.1 บัณฑิตประเมินตนเองหลังสำเร็จการศึกษา 2.2 บัณฑิตประเมินการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย
ความหมายของคะแนน ระดับคะแนน ความหมาย 1 ความหมาย 2 > 4.49 มากที่สุด พึงพอใจมากที่สุด 3.50 - 4.49 มาก พึงพอใจมาก 2.50 - 3.49 ปานกลาง พึงพอใจ 1.50 - 2.49 น้อย พึงพอใจน้อย < 1.50 น้อยที่สุด พึงพอใจน้อยที่สุด เกิน 3.50 ถึงจะยอมรับได้
2.1 บัณฑิตสำรวจความสามารถของตนเอง คุณสมบัติ 254525462547254825492550ระดับ 1. ความมีมนุษยสัมพันธ์ 4.091 4.091 4.1614.201 4.2114.451มาก 2. สมรรถภาพทางร่างกาย 3.813 3.773 3.803.823 3.9024.272มาก 3. บุคลิกภาพ 3.753.703.8133.803.8134.243มาก 4. ทักษะการเรียนรู้สิ่งใหม่ 3.832 3.842 3.9323.952 3.9024.22 มาก 5. ทักษะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า 3.683.703.763.763.734.08 มาก 6. ทักษะการตัดสินใจ 3.693.68 3.753.763.734.08 มาก 7. ทักษะการประยุกต์ความรู้ 3.653.683.743.743.714.08 มาก 8. ความรู้ตามสาขาวิชา 3.553.603.613.613.613.94 มาก 9. ทักษะการบริหาร 3.37 3.373.43 3.453.443.93มาก 10. ทักษะการวิเคราะห์ปัญหา 3.553.563.623.633.583.92 มาก 11. ทักษะทางคอมพิวเตอร์ 3.39 3.443.50 3.533.48 3.82มาก 12. ภาษาอังกฤษ 3.01 3.003.03 3.032.99 3.35 ปานกลาง 13. ภาษาที่ 3 (จีน/ฝรั่งเศส/..) - - - -1.96 1.46 น้อย ที่เป็นจุดอ่อนของบัณฑิตของ มอ.
2.1 บัณฑิตประเมินว่าคุณสมบัติอะไรที่นายจ้างต้องการ คุณสมบัติที่นายจ้างต้องการ 2545 2546 2547 2548 2549 2550 1. ความมีมนุษยสัมพันธ์ 60.0261.32 61.8259.5159.2168.21 2. ความรู้ตามสาขาวิชา/เอก 63.0163.91 62.6155.5257.3258.42 3. ทักษะการวิเคราะห์&แก้ปัญหา 52.5353.4 55.3350.0350.654.03 4. ทักษะทางคอมพิวเตอร์ 52.3 54.23 53.2 46.8 51.9353.9 5. บุคลิกภาพ 31.7 33.3 44.8 38.4 40.552.9 6. ทักษะการเรียนรู้สิ่งใหม่ 49.8 51.4 53.7 49.3 47.452.5 7. ทักษะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า 47.6 48.5 49.9 46.0 47.050.1 8. ภาษาต่างประเทศ 46.0 45.0 47.1 43.3 48.146.4 9. ทักษะทางการบริหาร 27.2 25.6 25.7 20.7 21.725.3 บัณฑิตประเมินตนเอง ต่ำกว่าร้อยละ 55
2. ความพึงพอใจของบัณฑิต 2.1. บัณฑิตประเมินตนเองหลังสำเร็จการศึกษา 2.2. บัณฑิตประเมินการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย
2.2 บัณฑิตประเมินการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย..5 ประเด็น ประเด็น ค่าเฉลี่ย ระดับความพอใจ ความพึงพอใจ25452546 25472548 2549 2550 1. ด้านผู้สอน 3.873.893.91 4.00 4.01 4.34พึงพอใจมาก 2. ด้านวิธีการสอน3.593.603.61 3.69 3.69 4.10พึงพอใจมาก 3. ด้านหลักสูตรวิชา 3.503.453.47 3.55 3.56 3.99พึงพอใจมาก 4. ด้านการให้บริการ 3.24 3.223.23 3.29 3.31 3.90พึงพอใจมาก ของหน่วยงาน 5. ด้านห้องLab/ 3.153.083.08 3.10 3.15 3.82พึงพอใจมาก ห้องเรียนและอื่นๆ ต่ำกว่า 3.50 ต้องปรับปรุง เฉลี่ยภาพมหาวิทยาลัย 3.99
1. ความพึงพอใจต่อหลักสูตร/สาขาวิชา พึงพอใจมากทุกรายการ (คะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 4.02 – 3.91)
1. ความพึงพอใจต่อหลักสูตร/สาขาวิชา (เนื้อหา เค้าโครง ความทันสมัย การวัดผล รูปแบบการเรียนการสอน…) 1 คณะที่ควรปรับปรุงหลักสูตร วิทยาศาสตร์ (ภูเก็ต) 2 คณะหลัง ที่บัณฑิตพึงพอใจ วิศวกรรมศาสตร์(ภูเก็ต) เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม • 3 คณะแรกที่บัณฑิตพึงพอใจมาก • ศิลปกรรมศาสตร์ • แพทยศาสตร์ • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2. ความพึงพอใจต่อวิธีการสอน พึงพอใจมากทุกรายการ (คะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 4.29 – 4.00)
2. ความพึงพอใจต่อวิธีการสอน (เทคนิกการสอนสื่อ การอธิบาย การเตรียมการสอน ….) • 3 คณะหลัง ที่บัณฑิตพึงพอใจ • เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม • อุตสาหกรรมบริการ • วิศวกรรมศาสตร์ (ภูเก็ต) • 3 คณะแรก ที่บัณฑิตพึงพอใจมาก • ศิลปกรรมศาสตร์ • พยาบาลศาสตร์ • แพทยศาสตร์
3.ความพึงพอใจต่อผู้สอน3.ความพึงพอใจต่อผู้สอน พึงพอใจมากทุกรายการ (คะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 4.44-4.23)
3. ความพึงพอใจต่อผู้สอน (ความรู้ความสามารถ ความตั้งใจ เข้าสอนตรงเวลา มีจริยธรรมที่เหมาะสม …..) • 3 คณะแรกที่บัณฑิตพึงพอใจมาก • พยาบาลศาสตร์ • เภสัชศาสตร์ • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 คณะหลังที่บัณฑิตพึงพอใจมาก วิทยาศาสตร์ (ภูเก็ต) อุตสาหกรรมบริการ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
4.ความพึงพอใจที่มีต่อการให้บริการของหน่วยงานสนับสนุน4.ความพึงพอใจที่มีต่อการให้บริการของหน่วยงานสนับสนุน พึงพอใจมากทุกรายการ (คะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 4.09-3.75)
4. ความพึงพอใจที่มีต่อการให้บริการของหน่วยงานสนับสนุน (ต่อการบริการของมหาวิทยาลัย เช่น ห้องสมุด คอมพิวเตอร์ internet วิธีการลงทะเบียน บริการกองคลัง …..) มหาวิทยาลัยต้องปรับปรุงการให้บริการของหน่วยงาน (ค่าเฉลี่ย < 3.50) เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม อุตสาหกรรมบริการ และวิศวกรรมศาสตร์(ภูเก็ต)
5. ความพึงพอใจต่อห้อง lab ห้องเรียนและอื่นๆ พึงพอใจมากทุกรายการ (คะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 3.92-3.83)
5.ความพึงพอใจต่อห้อง LAB/ ห้องเรียนและอื่นๆ (อื่นๆ เช่น หอพัก โรงอาหาร ร้านค้า….ต้องปรับปรุงทั้งระบบ ของส่วนกลางและส่วนของคณะ) มหาวิทยาลัยต้องปรับปรุงการให้บริการ (ค่าเฉลี่ย < 3.50) เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม วิทยาการสื่อสาร อุตสาหกรรมบริการ
เพื่อโปรดทราบและให้ข้อเสนอแนะเพื่อโปรดทราบและให้ข้อเสนอแนะ