230 likes | 369 Views
โครงการพัฒนาโรงพยาบาล “ บริการฉับไว ไร้ความแออัด ” โรงพยาบาลเมืองฉะเชิงเทรา. 27 มีนาคม 254 9. โรงพยาบาลเมืองฉะเชิงเทรา. โรงพยาบาลทั่วไป ขนาด 503 เตียง. โรงพยาบาล ศูนย์ ขนาด 5 3 3 เตียง. 403 เตียงสามัญ 100 ห้องพิเศษ 2 9 ห้องตรวจ OPD 11 คลินิกพิเศษ
E N D
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลโครงการพัฒนาโรงพยาบาล “บริการฉับไว ไร้ความแออัด” โรงพยาบาลเมืองฉะเชิงเทรา 27มีนาคม 2549
โรงพยาบาลเมืองฉะเชิงเทราโรงพยาบาลเมืองฉะเชิงเทรา
โรงพยาบาลทั่วไป ขนาด503เตียง โรงพยาบาลศูนย์ ขนาด533เตียง
403 เตียงสามัญ 100 ห้องพิเศษ 29 ห้องตรวจ OPD 11 คลินิกพิเศษ 1 คลินิกประกันสังคม 8 ห้องผ่าตัด 8 ผู้ป่วยหนักผู้ใหญ่ 8 ผู้ป่วยหนักเด็ก 8 เด็กแรกเกิดป่วย ฉุกเฉินและกู้ชีพ 24 ชั่วโมง
อัตรากำลัง แพทย์ 55 คน แพทย์ใช้ทุน 20 คน ทันตแพทย์ 8 คน เภสัชกร 14 คน พยาบาลวิชาชีพ 364 คน พยาบาลเทคนิค 44 คน ข้าราชการอื่น ๆ 112 คน ลูกจ้างประจำ 182 คน ลูกจ้างชั่วคราว 379 คนรวม1,158 คน
แพทย์เฉพาะทาง อายุรกรรม 5 ศัลยกรรม 6 สูติ - นรีเวชกรรม 7 กุมารเวชกรรม 7 ออร์โธปิดิกส์ 6 วิสัญญี 4 ประสาทศัลยศาสตร์ 2 ศัลยศาสตร์ยูโร 1 โสต ศอ นาสิก - จักษุ 3 ผิวหนัง 3 รังสี 2 เวชกรรมฟื้นฟู 1 จิตเวช 2 เวชศาสตร์ครอบครัว 5
โครงสร้างการบริหารจัดการ CUP โรงพยาบาลเมืองฉะเชิงเทรา ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเมืองฉะเชิงเทรา (ประธาน CUP) รพ. เมืองฉะเชิงเทรา(2 O & 3O care) ประชากรทั้งจังหวัด 643,432 คน เขตเทศบาลเมือง (1 PCU) ดูแล 1Ocare ประชากร 39,846 คน สสอ. เมือง (21 สอ./ 9 PCU) ดูแล 1Ocare ประชากร101,660 คน สสอ. กิ่งอ.คลองเขื่อน (6 สอ./ 1 PCU) ดูแล 1Ocareประชากร13,614 คน
รายงานผู้ป่วยนอก รพ.เมืองฉะเชิงเทรา(ในเวลา+ER+นอกเวลา) เฉลี่ยผู้ป่วยนอกทั้งหมดของรพ.(ในเวลา+ER+นอกเวลา) - ปีงบประมาณ 2548 เท่ากับ 1,039 ราย/วัน (286 วันทำการ) - ปีงบประมาณ 2549 (ต.ค. – ธ.ค.) เท่ากับ 1,142 ราย/วัน
รายงานผู้ป่วยนอกรพ.เมืองฉะเชิงเทราเฉพาะในเวลาไม่รวม ER ผู้ป่วยนอก UC ในเวลาราชการปี 2548 เท่ากับ 403 ราย/วัน ผู้ป่วยนอก UC ในเวลาราชการปี ต.ค. – ธ.ค.2548 เท่ากับ 406 ราย/วัน ผู้ป่วยนอก UC ในเวลาราชการปี ต.ค. – ธ.ค.2548 (ทั่วไป) 315 ราย/วัน
แนวคิดการจัดตั้งโรงพยาบาลปฐมภูมิในเขตอำเภอเมืองฉะเชิงเทราแนวคิดการจัดตั้งโรงพยาบาลปฐมภูมิในเขตอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา • เพื่อลดความแออัดของผู้มารับบริการและผู้ป่วยนอกของรพศ. ฉะเชิงเทรา • เพื่อให้บริการสุขภาพที่มีคุณภาพแบบองค์รวม ครบทั้ง 4 มิติและใกล้บ้านใกล้ใจ • เพื่อความสะดวกรวดเร็ว ประหยัดเวลาของประชาชนผู้รับบริการ
แนวคิดการจัดตั้งโรงพยาบาลปฐมภูมิในเขตอำเภอเมืองฉะเชิงเทราแนวคิดการจัดตั้งโรงพยาบาลปฐมภูมิในเขตอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา • เพื่อพัฒนารูปแบบหน่วยบริการปฐมภูมิที่สมบูรณ์แบบในอนาคตทั้งในแง่ บริหารบริการ วิชาการ และสามารถเชื่อมกับพลังประชาชน ใช้ทรัพยากรในชุมชนท้องถิ่น พัฒนางานสาธารณสุขที่เน้นส่งเสริม ป้องกันมากกว่ารักษา ฟื้นฟูที่ยั่งยืน • เพื่อพัฒนางานบริการสุขภาพตติยภูมิให้มีคุณภาพทั้งเชิงกว้างและเชิงลึกมากขึ้น
สถานที่ก่อสร้างโรงพยาบาลปฐมภูมิ เมืองฉะเชิงเทรา
ประเด็นพิจารณาการจัดตั้งโรงพยาบาลปฐมภูมิในอำเภอเมืองฉะเชิงเทราประเด็นพิจารณาการจัดตั้งโรงพยาบาลปฐมภูมิในอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา • ต้องได้มาตรฐานงานบริการทั่วไป ไม่เป็นบริการผู้ป่วยนอกชั้น 2 เมื่อเทียบกับรพศ. ที่อยู่ติดกัน • ต้องมีจุดเด่นดึงดูดใจผู้มารับบริการที่ชัดเจน เช่น เน้นบริการแบบองค์รวม สะดวดรวดเร็วกว่ามารับบริการที่ รพศ. เป็น One stop service • ต้องกำหนดขอบเขตงานและกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการที่ชัดเจน เช่น UC ในเขตรับผิดชอบที่ป่วยเป็นโรคทั่วไป และเน้น PP
ประเด็นพิจารณาการจัดตั้งโรงพยาบาลปฐมภูมิในอำเภอเมืองฉะเชิงเทราประเด็นพิจารณาการจัดตั้งโรงพยาบาลปฐมภูมิในอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา • ต้องมีโครงสร้างบุคลากรที่เป็นสหสาขาวิชาชีพที่เพียงพอทั้งปริมาณและคุณภาพ • ต้องมีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ใช้งบประมาณและทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดอย่างคุ้มค่า ไม่ซ้ำซ้อนกับโครงสร้างเดิม • ต้องมีระบบติดตามประเมินผล เพื่อวางแผนพัฒนาอย่างต่อเนื่องต่อไป
กลวิธีดำเนินการ • จัดตั้งคณะกรรมการดำเนินโครงการจากสหสาขาวิชาชีพ • ศึกษาปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้เกิดความแออัดของกลุ่มงานผู้ป่วยนอกและลักษณะปัญหาสุขภาพของผู้รับบริการ • จัดสร้างอาคารตามแบบโรงพยาบาลชุมชน 30 เตียงจำนวน 1 อาคาร เพื่อเพิ่มพื้นที่การให้บริการผู้ป่วยนอกและจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิได้ครบวงจร • ปรับปรุงวิธีการจัดระบบบริหารผู้ป่วยนอก โดยใช้ระบบนัดหมาย การกระจายผู้มารับบริการตามความเหมาะสม
กลวิธีดำเนินการ • พัฒนาระบบส่งกลับโรงพยาบาลชุมชนหรือสถานีอนามัยที่มีแพทย์ให้บริการสำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่สามารถควบคุมได้ • ประสานความร่วมมือกับองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาศักยภาพของสถานีอนามัยในด้านบุคลากร งบประมาณครอบคลุมทั้งงานด้านบริหาร บริการและจัดการ • เสริมสร้างความรู้ ความตระหนักตลอดจนทักษะของประชาชนในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว • คณะกรรมการประชุมติดตามผลความก้าวหน้าโครงการทุก 3 เดือน
เป้าหมายระยะสั้น • เพิ่มพื้นที่ในส่วนที่เป็นงานบริการผู้ป่วยนอกมากขึ้น • ปรับระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิให้เหมาะสม • เพิ่มคุณภาพงานบริการผู้ป่วยนอกด้านการลดระยะเวลาและขั้นตอนการให้บริการ • สามารถจัดบริการที่ตอบสนองความจำเป็นกับสุขภาพของประชาชน • ประชาชนมีความพึงพอใจในงานบริการผู้ป่วยนอก
เป้าหมายระยะยาว • ลดปริมาณผู้ป่วยนอกที่มารับบริการโดยไม่เหมาะสม • ประชาชนได้รับบริการที่สอดคล้องกับความจำเป็นด้านสุขภาพ • เพิ่มประสิทธิภาพของระบบบริการทั้งปฐมภูมิและตติยภูมิ • ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพตนเองและใช้บริการสุขภาพได้อย่างเหมาะสม
ประชาชนเข้าใจและ ใช้ระบบปฐมภูมิ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ