480 likes | 838 Views
การกำหนดรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะและคุณสมบัติของผู้เสนอราคา. สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ กรมบัญชีกลาง โทร. 0 2273 9024 ต่อ 4551 - 4553. และ. การจัดทำรายงานขอซื้อขอจ้าง. การกำหนดรายละเอียด หรือคุณลักษณะเฉพาะ และคุณสมบัติของผู้เสนอราคา. มิติสัมพันธ์ ของรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะ.
E N D
การกำหนดรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะและคุณสมบัติของผู้เสนอราคาการกำหนดรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะและคุณสมบัติของผู้เสนอราคา สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ กรมบัญชีกลาง โทร. 0 2273 9024 ต่อ 4551 - 4553 และ การจัดทำรายงานขอซื้อขอจ้าง
การกำหนดรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะและคุณสมบัติของผู้เสนอราคาการกำหนดรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะและคุณสมบัติของผู้เสนอราคา
มิติสัมพันธ์ของรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะมิติสัมพันธ์ของรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะ การดำเนินการ กำหนด Spec. ระเบียบฯ ข้อ 13 หลังจากทราบยอดเงิน ที่จะนำมาใช้ในการจัดหา ให้รีบดำเนินการ ให้เป็นไปตามแผน... กวพ. 1. ทราบยอดเงิน คือ งบประมาณ ผ่านความเห็นชอบจากสภาฯ 2. การเริ่มดำเนินการจัดหา คือ การดำเนินการในขั้นตอนที่ ต้องผูกพันบุคคลภายนอก (การประกาศฯ) 3. การกำหนด spec. เป็นขั้นตอน ภายในหน่วยงาน ยังไม่ได้ก่อให้ เกิดสิทธิแก่บุคคลภายนอก จึง สามารถดำเนินการไว้แต่เนิ่นได้
มิติสัมพันธ์ของรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะมิติสัมพันธ์ของรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะ นโยบายของหน่วยงาน ข้อกำหนดตามระเบียบ ไม่ชัดเจน ผู้มีหน้าที่กำหนด Spec. • - เจ้าหน้าที่พัสดุ • คณะทำงาน • คณะกรรมการ • Spec. กลาง • - ฯ -
มิติสัมพันธ์ของรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะมิติสัมพันธ์ของรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะ Spec. ** ในชั้นของการขอตั้ง งบประมาณ ** - งานซื้อ / จ้าง ทั่วไป - งานจ้างก่อสร้าง Conceptual design ** ในชั้นการจัดหา ** - งานซื้อ / จ้าง ทั่วไป - งานจ้างก่อสร้าง Detail design
มิติสัมพันธ์ของรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะมิติสัมพันธ์ของรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะ การกำหนด Spec. กฎหมาย งบประมาณ - พรบ. วิธีการงบประมาณฯ - ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ - Spec. ตามกรอบวงเงินที่ได้รับจัดสรร - Spec. กรณีวงเงินที่ได้รับจัดสรร ไม่เพียงพอ
มิติสัมพันธ์ของรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะมิติสัมพันธ์ของรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะ Spec. ** Spec.หน่วยงานกลาง ** - สำนักงบประมาณ - กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ** Spec.ตามความต้องการ ของหน่วยงานที่จะจัดหา พัสดุ **
หลักการในการกำหนด Spec. **การกำหนดรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุ หรืองานจ้าง / คุณสมบัติของผู้เสนอราคา หรือ ผู้เสนองาน **การวินิจฉัยตีความคุณสมบัติของผู้เสนอราคา หรือ ผู้เสนองานแต่ละรายว่าเป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้หรือไม่ **เป็นอำนาจของหน่วยงานที่จัดหาพัสดุ สามารถใช้ดุลยพินิจกำหนดและวินิจฉัยได้ตามความต้องการของหน่วยงาน แต่ต้องอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง หรือมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกำหนดไว้
หลักเกณฑ์ ในการกำหนด Spec. ความเปิดเผย โปร่งใส และเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม การระบุคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของหรือยี่ห้อสิ่งของ การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศและกิจการของคนไทย การจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คุณสมบัติของผู้เสนอราคาตามที่ กวพ. กำหนด
เปิดเผย โปร่งใส และเปิดโอกาส ให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม 1 2 ระเบียบพัสดุฯ 35 ข้อ 15 ทวิ วรรคหนึ่ง *** - ต้องดำเนินการโดยเปิดเผย โปร่งใส และเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม โดยคำนึงถึงคุณสมบัติและความสามารถของผู้เสนอราคา หรือผู้เสนองาน เว้นแต่ กรณีที่มีลักษณะเฉพาะอันเป็นข้อยกเว้น ตามที่กำหนดไว้ในระเบียบฯ ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 ข้อ 17 - การกำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ การออกแบบรูปรายการก่อสร้างโดยละเอียด ให้หัวหน้าส่วนราชการรับผิดชอบควบคุมดูแลให้เป็นไปอย่างโปร่งใส
การระบุคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของหรือยี่ห้อสิ่งของการระบุคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของหรือยี่ห้อสิ่งของ มติ ครม. 23 มี.ค. 20 (ที่ สร 0203/ว 52 ลว. 28 มี.ค. 20) งานก่อสร้าง 1 กำหนดรายการในการก่อสร้าง 1. มี มอก. หรือ กระทรวง อุตสาหกรรมรับรองแล้ว หรือ มีมาตรฐานที่ส่วนราชการอื่น กำหนดไว้ ก็ให้ระบุตาม มาตรฐานนั้นได้ ตามความ จำเป็น 2. กรณียังไม่มีมาตรฐาน ถ้าส่วนราชการ จำเป็นต้องใช้สิ่งของที่เห็นว่ามีคุณภาพดี เป็นที่นิยมใช้ในขณะนั้น และจำเป็นต้อง ระบุชื่อยี่ห้อสิ่งของ ก็ให้ระบุได้ แต่ต้องให้มากยี่ห้อที่สุดเท่าที่จะสามารถ ระบุได้ และสิ่งของที่มีคุณภาพเทียบเท่ากัน ก็ให้ใช้ได้ด้วย
การระบุคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของหรือยี่ห้อสิ่งของการระบุคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของหรือยี่ห้อสิ่งของ มติ ครม. ตามหนังสือ ที่ สร 0403/ว 93 ลว. 7 พ.ย. 12 และ ที่ สร 0203/ว 157 ลว. 27 ธ.ค. 19 งานซื้อ 2 คุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของ *** ห้าม *** 1. กำหนดให้ใกล้เคียงกับยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่ง 2. ระบุยี่ห้อสิ่งของที่จะซื้อ เว้นแต่ ที่มีข้อยกเว้นไว้ เช่น ยารักษาโรค เครื่องอะไหล่ เป็นต้น
หลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศหลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศ มติ ครม. 21 เม.ย. 52 - ด่วนที่สุด ที่ นร 0505/ว 89 ลว. 28 เม.ย. 52** เรื่อง ข้อเสนอมาตรการเพื่อลดผลกระทบจากปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจ ต่อภาค อุตสาหกรรมไทย (การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศหรือเป็นกิจการของคนไทย) ส่วนราชการ ระเบียบพัสดุฯ 35 ข้อ 16 มติ ครม. 29 พ.ค. 50 (ว.83) เคร่งครัด 1 รัฐวิสาหกิจและ องค์การมหาชน องค์ปกครอง ส่วนท้องถิ่น ขอความร่วมมือ + ขอความร่วมมือ ระวัง ไม่ให้ขัดหรือแย้ง กับข้อตกลงระหว่างประเทศ Ex. ข้อตกลงขององค์การการค้าโลก การประกวดราคานานาชาติ เป็นต้น
หลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศหลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศ มติ ครม. 29 พ.ค. 50 - ที่ นร 0505/ว 83 ลว. 30 พ.ค. 50** 1. การจัดหาพัสดุที่มีผลิตในประเทศ 1.1 ให้หน่วยงานของรัฐใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศ และถือปฏิบัติตาม ระเบียบหรือข้อบังคับว่าด้วยการพัสดุของหน่วยงานผู้ดำเนินการ ในส่วนที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด ถ้าไม่มีพัสดุที่ผลิตในประเทศ ให้จัดหาตามหลักเกณฑ์ปกติ 1.2 กรณีต่อไปนี้ ให้เสนอรัฐมนตรีพิจารณา **ถ้ามีพัสดุที่ผลิตในประเทศ แต่ไม่เพียงพอต่อความต้องการในประเทศ หรือมีน้อยราย หรือจำเป็นต้องใช้พัสดุที่ผลิตจากต่างประเทศ หรือจะต้องนำเข้าจากต่างประเทศในกรณีเป็นประโยชน์ยิ่งกว่า 2
หลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศหลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศ ข้อยกเว้น การจัดหาที่มีวงเงินไม่สูง ให้เป็นความรับผิดชอบของ หัวหน้า หน่วยงานของรัฐ ที่จะพิจารณาอนุมัติได้ 2 กรณี ดังนี้ 1) เป็นการจัดหาอะไหล่ ที่จำเป็นต้องระบุยี่ห้อ คุณลักษณะเฉพาะ และ จำเป็นต้องนำเข้าจากต่างประเทศ 2) เป็นการจัดหาที่มีวงเงินไม่เกิน 2 ล้านบาท หรือ ราคาพัสดุที่นำเข้า จากต่างประเทศมีราคาต่อหน่วยไม่เกิน 2 ล้านบาท 2. การใช้พัสดุที่ผลิตจากต่างประเทศ หรือนำเข้าจากต่างประเทศ หมายถึง การใช้ หรือ การนำเข้าพัสดุที่ผลิตสำเร็จรูปแล้วจาก ต่างประเทศไม่ว่าจะนำเข้าโดยคู่สัญญาหรือบุคคลอื่นใด
พัสดุที่ผลิตในประเทศ พัสดุที่ผลิตในประเทศหมายความว่า ....... ** ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตสำเร็จรูปแล้ว โดยสถานที่ผลิตตั้งอยู่ในประเทศไทย (ระเบียบ 35 ข้อ 5) ** หมายความรวมถึง ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการประกอบหรือขึ้นรูปในประเทศไทยด้วย (การตีความของ กวพ.) ** การตรวจสอบว่า พัสดุที่จะซื้อหรือจ้างทำมีผู้ผลิตหรือรับจ้าง ในประเทศไทยหรือไม่ ต้องตรวจสอบจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม
หลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศหลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศ ห้ามกำหนด Spec. กีดกัน ผู้ผลิต/ผู้ขายพัสดุที่ผลิตในประเทศ หรือเป็นกิจการของคนไทย(16(1)) ระเบียบพัสดุฯ พ.ศ. 2535 ข้อ 16 ให้ส่วนราชการใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศ หรือเป็นกิจการของคนไทย พัสดุที่ต้องการ ซื้อ/จ้าง มีผู้ได้รับการจดทะเบียน ผลิตภัณฑ์ ให้กำหนด Spec. หรือรายการในการก่อสร้าง ให้สอดคล้องกับคู่มือผู้ซื้อ หรือ ใบแทรกคู่มือผู้ซื้อ (16(3)) มีประกาศ มอก. ให้กำหนด Spec.หรือรายการในการ ก่อสร้างตามมาตรฐาน มอก. หรือ ระบุเฉพาะหมายเลข มอก. ก็ได้ (16(2)) 3 จำเป็นต้องกำหนดแตกต่าง ให้แจ้ง สมอ. (16(4)) 3
การจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของภาครัฐ มติคณะรัฐมนตรี 22 มกราคม 2551 เห็นชอบตามข้อเสนอของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เรื่อง การจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของภาครัฐ 1 มอบหมายให้กระทรวงการคลัง (กรมบัญชีกลาง) รับไปพิจารณา ปรับปรุงระเบียบพัสดุฯ 35 เพื่อให้การใช้มาตรการตามแผนการ จัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของภาครัฐ และ (ร่าง) แผนส่งเสริมการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อมของภาครัฐ พ.ศ. 2551 – 2554 มีความสอดคล้องกัน
การจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของภาครัฐ หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว 287 ลงวันที่ 29 ส.ค. 2551 ** ขอให้ส่วนราชการภายใต้ระเบียบพัสดุฯ 35 จัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ตามแผนการจัดซื้อจัดจ้างสินค้า และบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของ หน่วยงานภาครัฐ และ (ร่าง) แผนส่งเสริม การจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของภาครัฐ พ.ศ. 2551 – 2554 ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ** สินค้าและบริการใดที่จะต้องจัดซื้อจัดจ้างตามเกณฑ์ข้อกำหนดที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อมหรือได้รับฉลากเขียวหรือได้รับใบไม้เขียว ให้ดำเนินการตาม คู่มือการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของกรม ควบคุมมลพิษ และอยู่ภายใต้บังคับระเบียบพัสดุฯ 35 ข้อ 16 และต้องไม่ขัดหรือ แย้งกับระเบียบพัสดุฯ 35 ** 2
คุณสมบัติของผู้เสนอราคาคุณสมบัติของผู้เสนอราคา พิจารณาตามตัวอย่างเอกสาร ประกวดราคาที่ กวพ. กำหนด งานซื้อ/จ้าง ทั่วไป งานจ้าง ก่อสร้าง 2 1 ต้อง ทำตามตัวอย่างเอกสารประกวดราคาที่ กวพ. กำหนด ที่ นร (กวพ) 1305/ว 7914 ลว. 22 ก.ย. 43 ประกอบ ด่วนมาก ที่ นร (กวพ) 1305/ว 7286 ลว. 20 ส.ค. 42 ***
คุณสมบัติของผู้เสนอราคาคุณสมบัติของผู้เสนอราคา *** ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา *** 1. ต้องเป็นผู้มีอาชีพขาย หรือ รับจ้าง 2. ไม่เป็นผู้ที่ถูกระบุชื่อไว้ในบัญชีรายชื่อผู้ทิ้งงาน และ ได้แจ้งเวียน ชื่อแล้ว หรือ ไม่เป็นผู้ได้รับผลของการสั่งให้นิติบุคคลหรือ บุคคลอื่นเป็นผู้ทิ้งงาน 3. ไม่เป็นผู้มีผลประโยชน์ร่วมกัน (ณ วันประกาศ) 3.1 การซื้อ/จ้าง ตามระเบียบพัสดุฯ 35 ผู้เสนอราคารายอื่น 3.2 การซื้อ/จ้าง ตามระเบียบพัสดุฯ 49ผู้เสนอราคารายอื่น , ผู้ให้บริการกลางอิเล็กทรอนิกส์ หรือไม่เป็นผู้กระทำการอันเป็นการขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม
คุณสมบัติของผู้เสนอราคาคุณสมบัติของผู้เสนอราคา ***ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา *** 4. ไม่เป็นผู้ได้รับเอกสิทธิ์หรือความคุ้มกัน ซึ่งอาจปฏิเสธไม่ยอมขึ้น ศาลไทย เว้นแต่ รัฐบาลของผู้เสนอราคาได้มีคำสั่งให้สละสิทธิ์ และ ความคุ้มกันเช่นว่านั้น ** 5. ต้องผ่านการคัดเลือกผู้มีคุณสมบัติเบื้องต้นในการซื้อหรือจ้าง ** 6. ผู้เสนอราคาต้องเป็น นิติบุคคล และ มี ผลงานก่อสร้างประเภท เดียวกัน กับงานที่ประกวดราคาจ้าง ในวงเงินไม่น้อยกว่า.....บาท และ เป็นผลงานที่เป็นคู่สัญญาโดยตรงกับส่วนราชการ หน่วยงาน ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น หน่วยงานอื่น ซึ่งมีกฎหมายบัญญัติให้มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หรือ หน่วยงานเอกชนที่กรมเชื่อถือ
คุณสมบัติของผู้เสนอราคาคุณสมบัติของผู้เสนอราคา ***ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา *** 6.1 กรณีความเป็นนิติบุคคล งานก่อสร้าง วงเงินตั้งแต่ 1 ล้านบาทขึ้นไป ผู้เสนอราคา ต้องเป็นนิติบุคคล ตามกฎหมาย มติ ครม. 6 มิ.ย. 21 – ด่วนมาก ที่ สร 0203/ว 80 ลว. 8 มิ.ย. 21 3 3
คุณสมบัติของผู้เสนอราคาคุณสมบัติของผู้เสนอราคา ***ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา *** 6.2 กรณีผลงาน เพื่อให้ได้ทราบถึงศักยภาพของผู้ขายหรือผู้รับจ้าง ** งานก่อสร้าง ** กำหนดได้ไม่เกินร้อยละ 50 ของวงเงินงบประมาณ หรือวงเงินประมาณการ นร (กวพ) 1305/ว 7914 ลว. 22 ก.ย. 43 ประกอบ มติ ครม. 28 ธ.ค. 36 – ด่วนมาก นร 0202/ว 1 ลว. 3 ม.ค. 37 ต้องเป็นผลงานในสัญญาเดียวเท่านั้น นร (กวพ) 1204/ว 11441 ลว. 28 พ.ย. 39 1 4 5 1 4 5
คุณสมบัติของผู้เสนอราคาคุณสมบัติของผู้เสนอราคา • ***ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา *** • 6.2 กรณีผลงาน • งานก่อสร้าง (ต่อ) • ผลงานประเภทเดียวกันกับงานที่ประกวดราคาจ้าง • คือ ผลงานที่ใช้เทคนิคในการดำเนินการเหมือนกัน • เป็นผลงานที่ผู้รับจ้างได้ทำงานแล้วเสร็จตามสัญญา • ที่ได้มีการส่งมอบงานและตรวจรับเรียบร้อยแล้ว • ต้องเป็นผลงานที่กระทำสัญญากับส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ • หรือเอกชน ซึ่งเป็นผู้ว่าจ้างโดยตรง ไม่ใช่ผลงานอันเกิดจาก • การรับจ้างช่วง • (แนววินิจฉัยของ กวพ.)
คุณสมบัติของผู้เสนอราคาคุณสมบัติของผู้เสนอราคา 6 ** ผลงาน กรณีกิจการร่วมค้า นร (กวพ) 1305/ว 2457 ลว. 16 มี.ค.43 • จดทะเบียน • คุณสมบัติครบถ้วนตามเงื่อนไข • คุณสมบัติด้านผลงานก่อสร้าง ..... ใช้ผลงานของผู้เข้าร่วมค้าได้ • ไม่จดทะเบียน • คุณสมบัติทุกรายต้องครบถ้วนตามเงื่อนไข • ข้อยกเว้น • ตกลงเป็นลายลักษณ์อักษร • ให้ใครเป็นผู้รับชอบหลักในการเข้าเสนอราคาและแสดงหลักฐานพร้อมซองข้อเสนอราคา / ของข้อเสนอทางเทคนิค • ใช้ผลงานของผู้เข้าร่วมค้าหลักได้
คุณสมบัติของผู้เสนอราคาคุณสมบัติของผู้เสนอราคา *** งานซื้อ / จ้าง ทั่วไป *** ไม่มีหลักเกณฑ์เรื่องการกำหนดผลงาน แต่หากจำเป็นต้องกำหนด ก็เป็นดุลยพินิจ ของส่วนราชการที่จะอนุโลมนำหลักเกณฑ์ ของงานก่อสร้างมาใช้ได้ (แนววินิจฉัยของ กวพ.) กรณีทุนจดทะเบียน กำหนดไม่ได้(แนววินิจฉัยของ กวพ.)
การจัดทำรายงาน ขอจ้าง ขอซื้อ
การจัดทำรายงานขอซื้อขอจ้าง ...จัดทำเมื่อใด ? หลักการ **ก่อนการซื้อ – จ้างทุกวิธีต้องทำรายงาน ขอซื้อหรือขอจ้าง** เว้นแต่ การจัดหาโดยวิธี e-Auction ให้ดำเนินการภายหลังจากขั้นตอน การจัดทำและวิจารณ์ TORเสร็จสิ้นแล้ว
ข้อยกเว้นการจัดทำรายงานขอซื้อขอจ้างข้อยกเว้นการจัดทำรายงานขอซื้อขอจ้าง ** การซื้อ/จ้าง โดยวิธีตกลงราคา วงเงินไม่เกิน 10,000 บาท และ วิธีพิเศษกรณีเร่งด่วนตาม 23 (2) หรือ 24 (3) ซึ่งไม่อาจทำรายงานตามปกติได้ จะทำรายงานขอซื้อหรือขอจ้างเฉพาะรายการที่เห็นว่าจำเป็นก็ได้ ** การซื้อ/จ้าง โดยวิธีตกลงราคาในกรณีจำเป็นและเร่งด่วน เกิดขึ้นโดยไม่ได้คาดหมายไว้ก่อน และไม่อาจดำเนินการตามปกติได้ทัน ตามข้อ 39 วรรคสอง ไม่ต้องรายงานขอซื้อหรือขอจ้าง แต่ต้องทำรายงานขอความเห็นชอบ
ผู้มีหน้าที่ จัดทำรายงานขอซื้อขอจ้าง • ระเบียบพัสดุฯ ข้อ 27 • เจ้าหน้าที่พัสดุ เป็นผู้มีหน้าที่จัดทำรายงานขอซื้อขอจ้าง • ... การจัดทำ หมายความถึง • การรวบรวมรายละเอียดให้อยู่ในรูปรายงานฯ • รายการบางอย่างอาจมาจากแหล่งอื่น เช่น Spec.
รายการในรายงานขอซื้อขอจ้างรายการในรายงานขอซื้อขอจ้าง รายละเอียดของรายงาน - เหตุผลความจำเป็น - รายละเอียดของพัสดุที่จะซื้อหรืองานที่จะจ้าง - ราคามาตรฐาน หรือราคากลาง หรือราคาครั้งหลังสุดไม่เกิน 2 ปี - วงเงินที่จะซื้อ/จ้าง - กำหนดเวลาที่ต้องการใช้พัสดุหรือให้งานแล้วเสร็จ ข้อเท็จจริง - วิธีจะซื้อ/จ้าง และเหตุผล • - ข้อเสนออื่นๆ * การแต่งตั้งคณะกรรมการต่าง ๆ * การออกประกาศสอบราคา หรือประกวดราคา