400 likes | 579 Views
การทำงานบริการคลินิกร่วมกับกลุ่ม ผู้ติดเชื้อโรงพยาบาลเลย. โดย นางวัชรี ภู่สุธาสี พยาบาลวิชาชีพ 7. โรงพยาบาลทั่วไป ขนาด 324 เตียง. ที่ตั้ง : เลขที่ 32/1 ถนนมะลิวัลย์ ตำบลกุดป่อง อำเภอเมือง จังหวัดเลย. เนื้อที่ : 26 ไร่ 2 งาน 21 ตารางวา
E N D
การทำงานบริการคลินิกร่วมกับกลุ่ม ผู้ติดเชื้อโรงพยาบาลเลย โดย นางวัชรี ภู่สุธาสี พยาบาลวิชาชีพ 7
โรงพยาบาลทั่วไป ขนาด 324 เตียง ที่ตั้ง : เลขที่ 32/1 ถนนมะลิวัลย์ ตำบลกุดป่อง อำเภอเมือง จังหวัดเลย เนื้อที่: 26 ไร่ 2 งาน 21 ตารางวา เปิดบริการอย่างเป็นทางการเมื่อ24 มิถุนายน 2496
จำนวนบุคลากร • บุคลากรรวมทั้งสิ้น 880 คน • ข้าราชการ 496 คน • ลูกจ้างประจำ 158 คน • ลูกจ้างชั่วคราว 226 คน ข้อมูล ณ 31 กรกฎาคม 2551
โรงพยาบาลเลย ได้ให้การดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ภายใต้วิสัยทัศน์ หน่วยงานดี มีคุณภาพ บริการเด่น เป็นที่ยอมรับ และประทับใจ ภายใต้พันธกิจ ให้บริการดูแล รักษาผู้ติดเชื้อ ต่อเนื่อง ครบถ้วน และครบวงจร ภายใต้ยุทธศาสตร์หลักขอกรมควบคุมโรค การป้องกัน และควบคุมโรคเอดส์ 1. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ 2. ด้านการให้คำปรึกษา 3. ด้านการรักษา 4. การดูแลที่บ้าน และชุมชน 5. ด้านสังคม และเศรษฐกิจ
สถานการณ์โรคเอดส์จังหวัดเลยสถานการณ์โรคเอดส์จังหวัดเลย สถานการณ์เอดส์ของโรงพยาบาล จำนวนผู้ป่วยเอดส์จำแนกตามวันเริ่มป่วยจังหวัดเลย ปี 2532 – สิงหาคม 2551 จำนวนผู้ป่วยสะสม ลำดับที่ 48 ของประเทศ อันดับที่ 13 ของภาค อันดับ 2 ในเขต 10 ปี 2550 ณ. 31 สิงหาคม 2551 ผู้ป่วยทั้งสิ้น 2,521 ราย อำเภอเมืองเลย (โรงพยาบาลเลย) อัตราป่วยต่อแสนประชากร 406.1 จำนวน 479 คน โครงการยาต้านไวรัสเอดส์ - ได้รับยาต้านไวรัส 231 คน - ได้รับคัดกรอง TB 100 % - เฝ้าระวัง CD4 100 % - กินยาอย่างสม่ำเสมอ ( > 95 % ) = ร้อยละ 97 %
การให้บริการ ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ยุทธศาสตร์ควบคุม และป้องกันเอดส์การดูแลรักษาผู้ติดเชื้ออย่างต่อเนื่อง ครบถ้วน และครบวงจร ปัญหานำไปสู่การพัฒนาคุณภาพ ด้านอาคารสถานที่ ด้านการรักษาความลับ ด้านมาตรฐาน / แนวทางปฏิบัติ ด้านบุคลากร ด้านงบประมาณ
พัฒนาคุณภาพการให้บริการให้ครอบคลุมทั้งด้าน..กระบวนการ ( Process ) ความเสี่ยง ( Risk ) ตัวชี้วัด ( KPI )และสิ่งที่ต้องพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ( CQI ) โดยใช้กระบวนการ PDCA
การดำเนินงาน การให้บริการ ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ยุทธศาสตร์ควบคุม และป้องกันเอดส์การดูแลรักษา ผู้ติดเชื้ออย่างต่อเนื่องครบถ้วน และครบวงจร ได้นำเสนอผลการวัดการปฏิบัติงานการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ดังนี้ 1 ) ใช้ HIVQUAL –T เป็นเครื่องมือในการประเมินตนเอง ในการให้บริการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ตรงมาตรฐานตัวชี้วัดทาง 2)ใช้กระบวนการ PDCAเป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงานและประเมินผล 3 ) มีการนำผลที่ได้จาก HIVQUAL –T มาทำกิจกรรมพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง 4 ) นำเสนอ CQI Story พร้อมหน่วยงานต่างๆ 5 ) กำหนดแผนการประเมินผลการดำเนินงาน
โครงสร้างการพัฒนาคุณภาพผู้ติดเชื้อ โรงพยาบาลเลย _______ สายบังคับบัญชา โครงสร้างพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ............... ..............สายประสานงาน ผอก รพ.เลย PCT หน่วยต่างๆ คณะกรรมการเอดส์ HIV Coordinator ศูนย์องค์รวม จิตอาสา / แกนนำ PCU / เวชกรรมสังคม ชุมชน
โครงสร้างการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ONE STOP SERVICE ทีม 5 ด้าน สหสาขาวิชาชีพ การรักษายาต้านไวรัส สูติ / Med / เด็ก ( แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ) การตรวจชันสูตรทาง ห้องปฏิบัติการ การให้การปรึกษา HIV Coordinator ผ่านการประเมินคุณภาพจากภายนอกระดับเขต ระดับดีมากที่สุด 92.14 % อาสาสมัครผู้ติดเชื้อ เป็นจิตอาสา ผ่านการประเมินตามตัวชี้วัด 100 % การพัฒนาศักยภาพการบริการ การควบคุม กำกับ และพัฒนา คุณภาพบริการ
ความเป็นมา ปี 2544 - มีโครงการเข้าถึงยาต้านไวรัสเอดส์ Access tocare (ATC )จังหวัดเลย รพ.เลย มีโควตา 10 คน แต่มีผู้ป่วย 15 คน - ผู้ป่วยไม่เปิดเผยตนเอง - ห้องให้คำปรึกษา พัฒนาเป็น ONE STOP SERVICEทำงานยุ่งยากมากผู้ป่วยรู้สึกถูก LABAL
ปี 2546 - 2547 - การเข้าถึงยาต้านมีมากขึ้น ผู้ป่วยมาก มีการประชุมเอดส์นานาชาติ เกิดโครงการเข้าถึงยาต้านไวรัสเอดส์ระดับชาติ ( NAPHA ) ให้มีการเข้าถึงยาต้านมากที่สุด - รพ.เลย พัฒนาเป็น ONE STOPSERVICE อย่างเต็มรูปแบบ ( ทีม 5 ด้าน ) แพทย์ พยาบาล พยาบาลให้คำปรึกษา ชันสูตร เภสัชกร เป็นรูปแบบทีมสหสาขาวิชาชีพ เกิดแกนนำอยากมาช่วยงานด้วยใจ
ปี 2548 - เกิดแกนนำPHAและ NGO เสนอเป็นศูนย์องค์รวม ร่วมทำงานจากกองทุนโลก ( มูลนิธิเข้าถึงเอดส์ ) 20 ธ.ค. 2548 - ได้รับอนุมัติจาก ผู้อำนวยการ รพ.เลย รับรองตั้งชื่อ “ กลุ่มดอกฝ้าย ” รพ.เลย เกิดแกนนำ และเครือข่าย ร่วมเป็นทีมสหสาขาวิชาชีพ รพ.เลย 1. จัดทำโครงการ คณะกรรมการบริหาร6 คนและคณะทำงาน 6 คน 2. มีระเบียบการปฏิบัติงาน 3. มีกองทุนโลกร่วมทำงานเป็น จิตอาสาเต็มรูปแบบ
20 ธ.ค. 2548 ( ต่อ ) 1. จัดทำโครงการกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน ดูแลให้คำปรึกษาเข้าถึงยาต้านไวรัสเอดส์ระดับชาติ อย่างครบวงจร(NAPHA) - ให้คำปรึกษา , เยี่ยมบ้าน , ประชุมกลุ่ม - จนท.CUP เมืองเลย/แกนนำได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ 2. โครงการอบรมให้คำปรึกษา การเยี่ยมบ้าน และการดูแลที่-บ้าน ร่วมกับกองทุนโลก
3. โครงการสุขภาพทางเลือกพัฒนารูปแบบการรับประทานยาอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ รพ.เลย วันที่ 24 ก.ค. 2549 3.1 สมุนไพรไทย และสปาไทย3.2 ดนตรีไทยเพื่อการบำบัด โยคะบำบัด 3.3 วิปัสสนากรรมฐาน
20 ก.พ 2550โครงการจิตอาสา กลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนศูนย์องค์รวม ( กลุ่มดอกฝ้าย ) ในการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อ และผู้ป่วยเอดส์อย่างครบถ้วน ต่อเนื่องและครบวงจร ร.พ.เลย จ.เลย -------------------------------------------------------สถานที่ทำงานกลุ่ม ห้องให้คำปรึกษา งานจิตเวช โรงพยาบาลเลย
กิจกรรม / ภารกิจ 1.รณรงค์ ส่งเสริม ป้องกัน 2. ด้านให้คำปรึกษา 3. ด้านการรักษา 4. การดูแลที่บ้าน และชุมชน 5. ด้านสังคม และเศรษฐกิจ 6. กิจกรรมอื่นๆ
ผลการดำเนินงาน • ให้คำปรึกษา ทุกวันจันทร์ อังคาร ศุกร์ • • โครงการยาต้าน( NAPHA/NAP PROGRAM) •การดูแลตนเองของ PHA•ด้านกาย จิต สังคม เศรษฐกิจโรคติดเชื้อฉวยโอกาส
ผลการดำเนินงาน 2.ด้านการรักษา ร่วมทีมดูแลโปรแกรมยาต้านไวรัส ทุกวันศุกร์โดย • ช่วยซักประวัติ ตรวจร่างกาย เช่นชั่งน้ำหนัก • จัดคิวรับบริการปรึกษา , รับยา, พบแพทย์ • ตรวจเช็คตารางการกินยาARV/ นับเม็ดยา • ลงวันนัดในสมุดบันทึกประวัติการกินยาของเพื่อนสมาชิก จัดคิว เจาะ CD4 , VIRAL LOAD
ผลการดำเนิน เยี่ยมบ้าน ประชุมกลุ่ม แพทย์ทางเลือก (สมุนไพร โยคะ สมาธิ ดนตรีบำบัด)
ผลการดำเนิน รณรงค์วันสุขภาพจิตแห่งชาติ แจกถุงยางอนามัย
เป็นวิทยากรใน และนอกหน่วยงาน ประสานงาน และส่งต่อหน่วยงานอื่น เช่น อบต. ชุมชน
กระบวนการที่ทำให้บรรลุเป้าหมาย และมีคุณภาพ 1. โครงการกิจกรรมรณรงค์ วันรวมใจต้านภัยเอดส์ ณ ลานน้ำพุ โรงพยาบาลเลย วันที่ ธันวาคม 2550 สหสาขาวิชาชีพ รพ.เลย / ทีมจิตอาสาด้านโรคเอดส์ 2. โครงการรณรงค์ต้านภัยเอดส์ที่โรงเรียนเลยพิทยาคม โดยพระอาจารย์มหาสุริยา สุนทรธมโม - กิจกรรมโครงการ รณรงค์ วันรวมใจ ต้านภัยเอดส์ รพ.เลย พิธีเปิดโดย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเลย
รณรงค์ ส่งเสริม ป้องกัน วันที่ 1 ธ.ค. ของทุกปี รณรงค์วันเอดส์โลก นายกเหล่ากาชาดจังหวัดเลย นางเบญจพร มกรพงศ์ ร่วมเป็นเกียรติ และวิทยากรพิเศษ
ประชาชน / ญาติ / ผู้ป่วยให้ความสนใจร่วมกิจกรรม
การรณรงค์วันรวมใจต้านภัยเอดส์ นอกสถานบริการที่ ร.ร.เลยพิทยาคม • จำนวน 500 คน • กิจกรรม วิทยากรให้ความรู้เรื่องโรคเอดส์ โดยพระอาจารย์มหาสุริยา สุนทรธมโม • วันที่ 12 ธันวาคม 2550
โครงการส่งเสริมและติดตามรูปแบบการรับประทานยาต้านไวรัสอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอโครงการส่งเสริมและติดตามรูปแบบการรับประทานยาต้านไวรัสอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ โรงพยาบาลเลย จังหวัดเลย ปี 2550 ในวันที่ 21 ธันวาคม 2550 ณ ห้องประชุม โรงพยาบาลเลย ผู้ติดเชื้อและญาติจำนวน 170 คน • สรุปตัวชี้วัด • ร้อยละของผู้ติดเชื้อ ที่ได้รับการส่งเสริม และติดตามการรับประทานยา ประเมินได้ 179 คน , ประเมินไม่ได้ 9 คน • ร้อยละของผู้ป่วยที่รับประทานยาต้านไวรัสต่อเนื่อง และสม่ำเสมอ • - ประเมิน 179 คน พฤศจิกายน - ธันวาคม 2550 % Adherence Pill countLock Book 100 % = 91 %100 % = 97 % 95 - 99 % = 7 %95 - 99 % = 3 % 90 - 95 % = 2 % ประเมินไม่ได้ 5 % (9 คน)
จากการประเมินผลโครงการ ในวันที่ 21 ธันวาคม 2550 ผู้ป่วย และญาติมีความต้องการให้จัดอบรมดังกล่าว โดยเฉพาะด้านสมาธิ และจิตวิญญาณในการสนับสนุนการรับประทานยาดีมากให้จัดทุกเดือน 100 %
บทเรียน / ผลที่ได้ •ให้บริการคุณภาพ แบบ ONE STOP SERVICE พัฒนาคุณภาพบริการ ผู้ให้/ผู้รับบริการพึงพอใจ จากการประเมินความพึงพอใจ- อาสาสมัครพึงพอใจ 85.50 % - เจ้าหน้าที่พึงพอใจ 75.15 % -PHA พึงพอใจ 87.72%จิตอาสา ถูกสัมภาษณ์จากสื่อมวลชนช่อง 3 จิตอาสามีความพึงพอใจในโรงพยาบาลเลยมาก และขอบคุณทีม 5 ด้าน•ในความหมายจิตอาสา - สร้างกระแสทำดีเพื่อสังคมด้วยใจ คนทำสมัครใจ ภูมิใจ ผู้รู้อยากสนับสนุน - ตัวอย่างสำหรับงานอื่นๆ
บทเรียน / ผลที่ได้ • เพื่อนช่วยเพื่อน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ความรู้ ทุกข์-สุข สุขภาพกาย จิต จิตวิญาณ สังคม ดีขึ้น• ผู้ติดเชื้อกินยา OI/ARV อย่างสม่ำเสมอ ป้องกันเกิดเชื้อดื้อยา• ลดผู้ติดเชื้อรายใหม่ • ผู้ติดเชื้อดูแลตนเองด้วยสุขภาพทางเลือกมากขึ้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง• พัฒนารูปแบบ แนวทางการดูแลแบบสหสาขา
บทเรียน / ผลที่ได้ • การพึ่งตนเองของผู้ป่วย สามารถดูแลตัวเองได้ดี ยอมรับและเข้าใจความเจ็บป่วย มีความคิดเชิงบวก คุณภาพชีวิตดีขึ้น • ความยั่งยืนการแก้ไขปัญหา AIDS จากการมีส่วนร่วมของกลุ่มเป้าหมาย แกนนำ ภาคีเครือข่าย มีเวที การดำเนินกิจกรรมต่างๆ
กิจกรรมด้านการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ที่กำลังพัฒนา / ต่อเนื่อง - - โครงการของแกนนำจิตอาสาดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ เพื่อนช่วยเพื่อน ( กลุ่มดอกฝ้าย ) โรงพยาบาลเลย โครงการจิตอาสากลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน( กลุ่มดอกฝ้าย ) ในการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วย - โครงการจิตอาสากลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน( กลุ่มดอกฝ้าย ) ในการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ อย่างครบถ้วน ต่อเนื่อง และครบวงจรโรงพยาบาลเลย จังหวัดเลย 1. เป็นบริการแบบเบ็ดเสร็จ ONE STOPSERVICEร่วมทีมสหสาขาวิชาชีพโรงพยาบาลเลยแกนนำอยากมาช่วยงานด้วยใจสู่นวัตกรรมใหม่การให้บริการ 2. เป็นผลงานเด่นของโรงพยาบาลเลย นำเสนอผู้ตรวจราชการ เขต 10 เป็นตัวอย่างระดับเขต โดยผ่านเกณฑ์ชี้วัด โรงพยาบาลจิตอาสา 3.เป็นตัวอย่างเรื่องเล่าในแบบร่วมโครงการพัฒนาโรงพยาบาลคุณภาพด้วยความรัก Harmonized Health care 4. เป็นผลงานตัวอย่างร่วมบันทึกนักจิตอาสา ความสุขมหัศจรรย์แห่งสัมมนาวิชาการจิตอาสา ปี 2551 - โครงการวิจัยเฝ้าระวังอุบัติการณ์เกิดเชื้อดื้อยา ( SL3 – GF ร.พ.เลย )
กิจกรรมด้านการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ที่เป็นสิ่งท้าทาย - สนองนโยบายตามยุทศาสตร์ / กรมควบคุมโรค / สปสช - สร้างนวัตกรรมใหม่สู่การพัฒนา - ให้บริการโครงการพัฒนาสู่โรงพยาบาลบริการคุณภาพด้วยความรักแนวทางการพัฒนาสู่ H.A. ได้แก่ การประเมินตนเอง และวัดผลการดำเนินงาน ดำเนินกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง การสื่อสารภายในองค์กร
ความภาคภูมิใจของผลการดำเนินงาน พัฒนาคุณภาพ
ห้องให้คำปรึกษา / คลินิก HIV / AIDS
อภิปรายและสรุปผล ปัจจัยสำคัญในการกระบวนการพัฒนาคุณภาพบริการดูแลผู้ติดเชื้อผู้ป่วย - เอดส์ ประกอบด้วย 1.การวางแผนพัฒนาคุณภาพในแต่ละจุดบริการ 2.แผนการประเมินผลที่บูรณาการเป็นงานประจำของหน่วยงาน 3.ทีมงานดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์แบบสหสาขาวิชาชีพมีส่วนสำคัญ 4.การนำ HIVQUAL – T และกระบวนการ PDCA มาใช้วัดผลการปฏิบัติ งานมีประโยชน์ในการประเมินตนเอง 5.การเก็บข้อมูลสะดวกรวดเร็วในการรายงานผล 6.สามารถนำตัวชี้วัด HIVQUAL – T มาปรับใช้ได้ในแต่ละคลินิก
สร้างวิกฤตให้เป็นโอกาส ดึงศักยภาพคนมาใช้ไขปริศนาปรึกษาถึงจิตวิญญาณ บริการแบบ ONE STOP SERVICEทีมสหสาขารักษาศีล 5 อย่างเคร่งครัด ปฏิบัติแบบพอเพียงทำเป็นเยี่ยงอย่าง คือ จิตอาสาดอกฝ้าย *