310 likes | 468 Views
เส้นทางสู่ความสำเร็จของนักวิจัยรุ่นใหม่. รศ.ดร.สุทธิชัย อัสสะบำรุงรัตน์ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หัวข้อ. นิยามของคำ “ นักวิจัย ” ทำไมต้องทำวิจัย & ความสำคัญของการทำวิจัย ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของการทำวิจัย การเผยแพร่ผลงานในวารสารระดับนานาชาติ
E N D
เส้นทางสู่ความสำเร็จของนักวิจัยรุ่นใหม่เส้นทางสู่ความสำเร็จของนักวิจัยรุ่นใหม่ รศ.ดร.สุทธิชัย อัสสะบำรุงรัตน์ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หัวข้อ • นิยามของคำ “นักวิจัย” • ทำไมต้องทำวิจัย & ความสำคัญของการทำวิจัย • ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของการทำวิจัย • การเผยแพร่ผลงานในวารสารระดับนานาชาติ • รางวัลความสำเร็จ • สิ่งที่ขอฝากไว้
คำนิยาม “นักวิจัย” นักวิจัย หมายถึง ผู้ที่ดำเนินการค้นคว้าหาความรู้อย่างเป็นระบบ เพื่อตอบประเด็นที่สงสัย โดยมีระเบียบวิธีอันเป็นที่ยอมรับในแต่ละศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งครอบคลุมทั้งแนวคิด มโนทัศน์และวิธีการที่ใช้ในการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล สภาวิจัยแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2541
ศ. (2 ปี) ทำไมต้องทำวิจัย & ความสำคัญของการทำวิจัย • Incentive ในด้านส่วนบุคคล • พัฒนาตัวเองให้มีความรู้ที่ทันสมัย & มีความสามารถสูงขึ้น • ผลงานสำหรับขอตำแหน่งวิชาการ • ได้เพื่อน • ได้ค่าตอบแทน • อื่นๆ รศ. (3 ปี) ผศ. (2 ปี)
Incentive ในด้านสังคมส่วนรวม • สร้างความเข้มแข็งขององค์กร/ประเทศ • ผลงานวิจัยเป็นตัวชี้วัดในด้านต่างๆ Number of publications (from SCOPUS)
ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของการทำวิจัยปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของการทำวิจัย • บุคลากรที่ดี (เช่น Mentor นิสิต/นักศึกษา ผู้ช่วยวิจัย ความร่วมมือกับนักวิจัยท่านอื่นทั้งใน/ต่างประเทศ) • เครื่องมือ & แหล่งทุนวิจัย – proposal ต้องดี • มีการวางแผนและการจัดการที่ดี • การทำวิจัยอย่างมีความสุข
ความสำคัญของการมี Mentorสำหรับนักวิจัยรุ่นใหม่ • กัลยาณมิตร ผู้คอยกระตุ้น ให้คำปรึกษา แนะนำในเรื่องต่างๆ ช่วยเหลือ และให้กำลังใจ • เป็นแบบอย่าง (model) • ให้การสนับสนุน
การดูแลนิสิต/นักศึกษา ผู้ช่วยวิจัย ความร่วมมือกับนักวิจัยท่านอื่นทั้งใน/ต่างประเทศ • พรหมวิหาร 4 (เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา) • มีความเป็นมนุษย์ • เอาใจเขาใส่ใจเรา
การขอทุนวิจัย • สกว.มีบันไดให้ไต่ชัดเจน • ทิศทางการขอทุน (วิจัยพื้นฐาน/วิจัยที่เชื่อมโยงกับอุตสาหกรรม) • การพัฒนาหัวข้อวิจัยจากความต้องการของอุตสาหกรรมผ่านกิจกรรมฝึกงาน IRPUS, CT)
หน่วยงานที่ให้ทุนวิจัยหน่วยงานที่ให้ทุนวิจัย • สกว. • สภาวิจัย • MTEC, NANOTEC, BIOTEC, NECTEC • หน่วยงานรัฐต่างๆ เช่น กระทรวงพลังงาน • หน่วยงานเอกชน • หน่วยงานต่างประเทศ
การประเมินข้อเสนอโครงการวิจัยการประเมินข้อเสนอโครงการวิจัย • ความชัดเจนของโจทย์ & วัตถุประสงค์ • ความคิดริเริ่มและความซ้ำซ้อนกับโครงการอื่น • คุณค่าทางวิชาการ และการนำไปใช้ประโยชน์ • ความสมบูรณ์ของการทำ literature review • ความเหมาะสมของระเบียบวิธีวิจัย • ปริมาณงาน แผนการดำเนินงาน และงบประมาณ • ขีดความสามารถของหัวหน้าโครงการ/นักวิจัยที่ปรึกษา • ความเชื่อมโยงกับนักวิจัยที่ปรึกษา/นักวิจัยอื่น/หน่วยงานอื่น • ความเป็นไปได้ในการตีพิมพ์ผลงานในวารสารระดับนานาชาติ/สิทธิบัตร • ความเป็นไปได้และโอกาสความสำเร็จของโครงการ
มีการวางแผนและการจัดการที่ดีมีการวางแผนและการจัดการที่ดี Plan Act Do Check
แนวทางปฏิบัติ จรรยาบรรณนักวิจัย คู่มือแนวทางปฏิบัติจรรยาบรรณนักวิจัย สภาวิจัยแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 2541 แนวทางปฏิบัติของนักวิจัยตามจรรยาบรรณนักวิจัยซึ่งสภาวิจัยแห่งชาติ ได้กำหนดให้มีขึ้น เพื่อให้เป็นข้อพึงสังวรณ์ทางคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานวิจัยของนักวิจัย ทั้งนี้เพื่อเป็นเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีของนักวิจัย อันจะนำไปสู่การยอมรับของสังคมนักวิจัย ทั้งในระดับประเทศและระดับนานาชาติ
จรรยาบรรณนักวิจัย ข้อ 1. นักวิจัยต้องซื่อสัตย์และมีคุณธรรมในทางวิชาการและการจัดการ ข้อ 2. นักวิจัยต้องตระหนักถึงพันธกรณีในการทำวิจัย ตามข้อตกลงที่ทำไว้ กับหน่วยงานที่สนับสนุนการวิจัยและต่อหน่วยงานที่ตนสังกัด ข้อ 3. นักวิจัยต้องมีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาการที่ทำวิจัย ข้อ 4. นักวิจัยต้องมีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษาวิจัย ไม่ว่าจะเป็นสิ่งที่มี ชีวิตหรือไม่มีชีวิต ข้อ 5. นักวิจัยต้องเคารพศักดิ์ศรี และสิทธิของมนุษย์ที่ใช้เป็นตัวอย่างใน การวิจัย
จรรยาบรรณนักวิจัย (ต่อ) ข้อ 6. นักวิจัยต้องมีอิสระทางความคิด โดยปราศจากอคติในทุกขั้นตอน ของการทำวิจัย ข้อ 7. นักวิจัยพึงนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ ข้อ 8. นักวิจัยพึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อื่น ข้อ 9. นักวิจัยพึงมีความรับผิดชอบต่อสังคมทุกระดับ
จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ 1) ต้องมีความซื่อสัตย์ทางวิชาการ ไม่นำผลงานของผู้อื่นมาเป็นผลงานของตนและไม่ลอกเลียนผลงานของผู้อื่น รวมทั้งไม่นำผลงานของตนเองในเรื่องเดียวกันไปเผยแพร่ในวารสารวิชาการมากกว่า 1 ฉบับ ในลักษณะที่จะทำให้เข้าใจผิดว่าเป็นผลงานใหม่ ประกาศ ก.พ.อ. เรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคล ให้ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550
2) ต้องให้เกียรติและอ้างถึงบุคคลหรือแหล่งที่มาของข้อมูลที่นำมาใช้ในผลงานทางวิชาการขอตนเองและแสดงหลักฐานของการค้นคว้า 3) ต้องไม่คำนึงถึงผลประโยชน์ทางวิชาการจนละเลยหรือละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของผู้อื่นและสิทธิมนุษยชน 4) ผลงานทางวิชาการต้องได้มาจากการศึกษาโดยใช้หลักวิชาการเป็นเกณฑ์ ไม่มีอคติมาเกี่ยวข้อง และเสนอผลงานตามความเป็นจริง ไม่จงใจเบี่ยงเบนผลการวิจัยโดยหวังผลประโยชน์ส่วนตัว หรือต้องการสร้างความเสียหายแก่ผู้อื่น และเสนอผลงานตามความเป็นจริง ไม่ขยายข้อค้นพบโดยปราศจากการตรวจสอบยืนยันในทางวิชาการ 5) ต้องนำผลงานไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบธรรมและชอบด้วยกฎหมาย
การตีพิมพ์ผลงานในวารสารระดับนานาชาติการตีพิมพ์ผลงานในวารสารระดับนานาชาติ • เป็นการสื่อสารกับโลกภายนอก • วางแผนการเขียนบทความ • Critic บทความที่เขียนเอง (organization, focus, language, etc.) • เลือก Journal ที่เหมาะสม (Impact factor) วารสารใน/ต่างประเทศ proceeding/journal • Comments จาก Reviewers เป็นสิ่งที่มีประโยชน์ • ประสบการณ์ที่สะสมจะช่วยให้การเขียนง่ายขึ้น
ข้อพึงระวังในการตีพิมพ์ผลงานข้อพึงระวังในการตีพิมพ์ผลงาน • Plagiarism • Duplication of publication • Unsubstantiated data, falsified data
การทำวิจัยให้มีความสุขการทำวิจัยให้มีความสุข • มีชีวิตชีวา • มีความพอดี • Synergy
รางวัลความสำเร็จ • สร้างบุคลากรที่มีคุณภาพให้ประเทศ • สร้างผลงานที่ดีให้กับหน่วยงานและประเทศ • ตำแหน่งวิชาการ & การยอมรับในวงวิชาการ
สิ่งที่ขอฝากไว้ มีความพอดี การแบ่งเวลา การงาน การสอน งานวิจัย งานอื่นๆขององค์กร งานบริการวิชาการ งานอื่นๆภายนอกองค์กร พักผ่อน การงาน ครอบครัว สังคม ไม่หยุดนิ่งที่จะพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ
กิตติกรรมประกาศ • ขอบคุณDr. David White ศ.ดร.ปิยะสาร ประเสริฐธรรม Professor Shigeo Goto ผู้เป็น Mentor ที่ดีเยี่ยม • ขอขอบคุณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สกว. สกอ. บวท. ที่ให้ความช่วยเหลือในด้านต่างๆ • ขอบคุณ ผู้ร่วมงานทุกท่าน ที่ทำให้การทำวิจัยมีความสุขและสำเร็จด้วยดี • ขอบคุณ ดร.วิทย์ สุนทรนันท์ สำหรับคำแนะนำในการเตรียมการนำเสนอที่เป็นประโยชน์
ขอบคุณผู้เข้าร่วมฟังทุกท่านขอบคุณผู้เข้าร่วมฟังทุกท่าน