1.37k likes | 5.05k Views
การตรวจประเมินเท้าผู้เป็นเบาหวาน. บริษัทโรชไดแอกโนสติกส์ (ประเทศไทย) จำกัด. ณัฎฐิยา สุธีพิเชฐภัณฑ์ Diabetes nurse educator. ผลกระทบของโรคเบาหวาน. เมื่อผู้เป็นเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลไม่ดี ปลายประสาทเสื่อม หลอดเลือดส่วนปลายตีบตัน
E N D
การตรวจประเมินเท้าผู้เป็นเบาหวานการตรวจประเมินเท้าผู้เป็นเบาหวาน บริษัทโรชไดแอกโนสติกส์ (ประเทศไทย) จำกัด ณัฎฐิยา สุธีพิเชฐภัณฑ์ Diabetes nurse educator
ผลกระทบของโรคเบาหวาน เมื่อผู้เป็นเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลไม่ดี ปลายประสาทเสื่อม หลอดเลือดส่วนปลายตีบตัน เท้าชา เท้าผิดรูป ผิวแห้ง เกิดแผลเรื้อรังที่เท้า แผลติดเชื้อ ถูกตัดเท้าหรือขา
การตรวจเท้าเบื้องต้น 1 การตรวจผิวหนัง สีผิว หนังหนา ผิวแห้งแตก การหลั่งเหงื่อ เชื้อรา เล็บ แผล 2 การตรวจโครงสร้างของเท้า รูปร่างเท้า 3 การประเมินระบบประสาท ทดสอบการรับความรู้สึกที่เท้า ใช้ 10-g monofilament 4 การประเมินหลอดเลือด ชีพจร,ABI
การตรวจเท้าเบื้องต้น 1 การตรวจผิวหนัง สีผิว หนังหนา ผิวแห้งแตก การหลั่งเหงื่อ เชื้อรา เล็บ แผล 2 การตรวจโครงสร้างของเท้า รูปร่างเท้า 3 การประเมินระบบประสาท ทดสอบการรับความรู้สึกที่เท้า ใช้ 10-g monofilament 4 การประเมินหลอดเลือด ชีพจร,ABI
การตรวจเท้าเบื้องต้น 1 การตรวจผิวหนัง สีผิว หนังหนา ผิวแห้งแตก การหลั่งเหงื่อ เชื้อรา เล็บ แผล 2 การตรวจโครงสร้างของเท้า รูปร่างเท้า 3 การประเมินระบบประสาท ทดสอบการรับความรู้สึกที่เท้า ใช้ 10-g monofilament 4 การประเมินหลอดเลือด ชีพจร,ABI
เท้าผิดรูป Claw toes
หนังหนาๆจากเท้าผิดรูปหนังหนาๆจากเท้าผิดรูป Callus
เท้าผิดรูป Charcot Foot
เท้าผิดรูป Prominent MTH
เท้าผิดรูป Bunion
การตรวจเท้าเบื้องต้น 1 การตรวจผิวหนัง สีผิว หนังหนา ผิวแห้งแตก การหลั่งเหงื่อ เชื้อรา เล็บ แผล 2 การตรวจโครงสร้างของเท้า รูปร่างเท้า 3 การประเมินระบบประสาท ทดสอบการรับความรู้สึกที่เท้า ใช้ 10-g monofilament 4 การประเมินหลอดเลือด ชีพจร,ABI
การใช้ เส้นเอ็นขนาด 5.07ตรวจกด น้ำหนัก 10กรัม • มีงานวิจัยพบว่า 5.07 monofilament (10 กรัม) มีความสัมพันธ์อย่างชัดเจนกับการเกิดแผล • พบว่าผู้เป็นเบาหวานที่ไม่รู้สึกจากการตรวจด้วย monofilament อย่างน้อย 1 จุด มีโอกาสจะเกิดแผลที่เท้าถึง10 เท่า และมีโอกาสถูกตัดเท้าถึง 17 เท่า
การใช้ เส้นเอ็นขนาด 5.07ตรวจกด น้ำหนัก 10กรัม
การเตรียมmonofilamentก่อนตรวจการเตรียมmonofilamentก่อนตรวจ • monofilament มี 2 แบบ • 2 ตรวจสอบสภาพ monofilament ต้องตรง ไม่คดงอ หรือบิด • 3 เมื่อจะเริ่มใช้ monofilamentในการตรวจแต่ละวันให้กด 2 ครั้งก่อน • เริ่มตรวจครั้งแรกเพื่อให้ความยืดหยุ่น ของ monofilament เข้าที่ • 4 monofilament แต่ละอันไม่ควรใช้ตรวจผู้ป่วยต่อเนื่องกันเกินกว่า • 10 รายหรือเกินกว่า 100 ครั้งในวันเดียวกัน ควรพักการใช้อย่างน้อย • ประมาณ 24 ชั่วโมงเพื่อให้ monofilament คืนตัวก่อนนำมาใช้ใหม่
วิธีการตรวจด้วยmonofilament • อธิบายขั้นตอนการตรวจให้ผู้ป่วยเข้าใจก่อน โดยการกด • monofilament ที่ท้องแขนผู้ป่วยเพื่อให้ทราบและเข้าใจถึงความรู้สึก • 2 ให้ผู้ป่วยนั่งหรือนอน จัดวางเท้าให้เหมาะสมต่อการตรวจ • 3 เมื่อจะเริ่มตรวจให้ผู้ป่วยหลับตา • 4 แตะmonofilamentในแนวตั้งฉากกับผิวหนัง ค่อยๆ กดลงจน • งอเพียงเล็กน้อยและค้างไว้ 1-1.5 วินาที จึงเอาออกและให้ผู้ป่วย • บอกว่ามี monofilamentมาแตะหรือไม่
วิธีการตรวจด้วยmonofilament 4 เพื่อให้แน่ใจว่าผู้ป่วยตอบตามความรู้สึกจริงไม่ได้แกล้งเดา ในแต่ละ ตำแหน่งให้ตรวจ 3 ครั้ง โดยตรวจจริง 2 ครั้ง และตรวจหลอก 1 ครั้ง 5 ถ้าผู้ป่วยตอบความรู้สึก ได้ถูกต้อง 2 ใน 3 ครั้ง (ซึ่งรวมการตรวจ หลอกด้วย1ครั้ง) แปลว่ามี protective sense อยู่ 6 ถ้าผู้ป่วยตอบความรู้สึกได้ 1ใน 3 ครั้ง หรือตอบไม่ถูกเลย ให้ตรวจซ้ำ หากตรวจซ้ำแล้ว ยังคงตอบถูกพียง 1 ครั้ง แสดงว่าผู้ป่วยมี การรับความรู้สึกผิดปกติ 7 การรับความรู้สึกผิดปกติแม้เพียงตำแหน่งเดียว แปลว่าเท้าสูญเสีย protective sensation
อาการของเส้นประสาทที่เท้าเสื่อมอาการของเส้นประสาทที่เท้าเสื่อม ร้อนเท้าเหมือนไฟลวก เจ็บปวดเหมือนมีเข็มแทง รู้สึกแปลกๆ เหมือนมีมดไต่ กระตุกเหมือนถูกไฟช๊อต
การตรวจเท้าเบื้องต้น 1 การตรวจผิวหนัง สีผิว หนังหนา ผิวแห้งแตก การหลั่งเหงื่อ เชื้อรา เล็บ แผล 2 การตรวจโครงสร้างของเท้า รูปร่างเท้า 3 การประเมินระบบประสาท ทดสอบการรับความรู้สึกที่เท้า ใช้ 10-g monofilament 4 การประเมินหลอดเลือด ชีพจร,ABI
การตรวจประเมินหลอดเลือดเพิ่มเติมการตรวจประเมินหลอดเลือดเพิ่มเติม ABI ( Ankle-brachial pressure Index)
การตรวจประเมินหลอดเลือดการตรวจประเมินหลอดเลือด ◙ABI ( Ankle-brachial pressure Index) ABI = Systolic BPของขาแต่ละข้าง Systolic BPของแขนข้างที่สูงสุด >0.9 - 1.3ปกติ 0.5 - 0.9 intermittentcladication (ปวดขามากหรือน่องมากเวลาเดินนั่งพักแล้วดีขึ้น) < 0.5 rest pain, gangrene
จัดลำดับความเสี่ยงที่จะเกิดแผลที่เท้าจัดลำดับความเสี่ยงที่จะเกิดแผลที่เท้า
ความเสี่ยง!!ของการเกิดแผลที่เท้าความเสี่ยง!!ของการเกิดแผลที่เท้า ๏ เท้ารูปร่างปกติ หลอดเลือดปกติ ระบบประสาทที่เท้ารับความรู้สึกได้ดี ๏ จัดอยู่ในกลุ่มความเสี่ยงต่ำ(0) ๏ คำแนะนำ ควรควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ ในเกณฑ์ ดูแลเท้าตามคำแนะนำทุกวัน ให้แพทย์และพยาบาลตรวจเท้าทุกปี ชนิดของรองเท้า ใส่สบายและเหมาะสม
ความเสี่ยง!!ของการเกิดแผลที่เท้าความเสี่ยง!!ของการเกิดแผลที่เท้า ๏ เท้ารูปร่างปกติ หรือผิดปกติ หลอดเลือดปกติ ระบบประสาทรับความรู้สึกที่เท้าไม่ดี ๏ จัดอยู่ในกลุ่ม ความเสี่ยงปานกลาง(1) ๏ คำแนะนำ ควรควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ ดูแลเท้าตามคำแนะนำทุกวัน ใส่รองเท้าและถุงเท้าตลอดเวลาให้แพทย์และพยาบาลตรวจเท้าทุก3-6เดือน ชนิดของรองเท้า รองเท้ากีฬา หรือ รองเท้าแตะมีสายรัดส้น หากมีความพิการที่เท้า รองเท้าควรมีความลึกปรับให้เหมาะสมกับลักษณะของเท้า
ความเสี่ยง!!ของการเกิดแผลที่เท้าความเสี่ยง!!ของการเกิดแผลที่เท้า ๏ หากเท้าคุณปกติหรือผิดรูป หลอดเลือดอุดตัน ระบบประสาทรับความรู้สึกที่เท้าดี/ไม่ดี ๏ จัดอยู่ในกลุ่ม ความเสี่ยงสูง(2) ๏ คำแนะนำ ควรควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ ดูแลเท้าตามคำแนะนำทุกวัน ใส่ถุงเท้าตลอดเวลา ส่งพบผู้เชี่ยญด้านหลอดเลือดหากมีปัญหาหลอดเลือด ให้แพทย์และพยาบาลตรวจเท้าทุก2-3 เดือน ชนิดของรองเท้า รองเท้ากีฬา หรือ รองเท้าแตะมีสายรัดส้น หากมีความพิการที่เท้า รองเท้าควรมีความลึกปรับให้เหมาะสมกับลักษณะของเท้า
ความเสี่ยง!!ของการเกิดแผลที่เท้าความเสี่ยง!!ของการเกิดแผลที่เท้า ๏มีประวัติตัดนิ้ว/เท้ามาก่อนหรือมีประวัติเป็นแผลที่เท้า ๏ จัดอยู่ในกลุ่ม ความเสี่ยงสูงมาก(3) ๏ คำแนะนำ ควรควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ ดูแลเท้า ตามคำแนะนำทุกวัน ใส่ถุงเท้า รองเท้าตลอดเวลา ตลอดเวลา หากเส้นเลือดอุดตัน ส่งพบแพทย์เฉพาะทางเพื่อรักษา ให้แพทย์และพยาบาลตรวจเท้าทุก 1เดือน ชนิดของรองเท้า เหมือนกับกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง(2)และอาจ เสริมแผ่นรองในรองเท้าตามความเหมาะสม
การแยกชนิดของแผลที่เท้าการแยกชนิดของแผลที่เท้า 1 แผลขาดเลือด มักเกิดบริเวณนิ้วเท้า แผลมักจะลุกลามจากส่วยปลายนิ้ว มายังโคนนิ้ว ขอบแผลเรียบ ก้นแผลมีสีซีดไม่มีเลือดออก เท้าเย็น คลำชีพจร ปวดเท้า Dorsalis pedis และ posterior tibial ได้เบาลง หรือ คลำไม่ได้ 2 แผลติดเชื้อ มีลักษณะบวม แดง ร้อน กดเจ็บที่แผลและรอบแผล มีหนอง มีไข้ ส่วนแผลที่อักเสบเรื้อรัง จะมีอาการบวมแดงร้อนไม่มาก 3 แผลปลายประสาทเสื่อม มักเกิดบริเวณฝ่าเท้า โดยเฉพาะตำแหน่งที่มีการ รับน้ำหนัก ขอบแผลนูนจากหนังหนา(Callus)ก้นแผลมีสีแดง มักไม่มีอาการเจ็บแผล
อย่าลืมตรวจเท้ากันนะคะอย่าลืมตรวจเท้ากันนะคะ