1 / 32

การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 3

การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 3. ( Knowledge Management : KM ). การจัดการความรู้. ( Knowledge Management : KM ). 1. ประวัติความเป็นมาของ KM สชป. 3. 2. ทำไมต้องมี KM. 3. KM คืออะไร ความรู้มีกี่ประเภท. 4. เป้าหมาย KM มี 4 ประการ. 5. กระบวนการ KM มี 7 ขั้นตอน.

hamal
Download Presentation

การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 3

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 3 ( Knowledge Management : KM )

  2. การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) 1. ประวัติความเป็นมาของ KM สชป.3 2. ทำไมต้องมี KM 3. KM คืออะไร ความรู้มีกี่ประเภท 4. เป้าหมาย KM มี 4 ประการ 5. กระบวนการ KM มี 7 ขั้นตอน 6. การดำเนินงาน KM สชป.3 ที่ผ่านมา 7. ผลงานเด่น KM สชป.3 ปี 2553 8. ปัญหา – อุปสรรค และแนวทางแก้ไข 9. แผนการดำเนินงาน KM ปี 2554

  3. 1. ประวัติความเป็นมาของ KM กรมฯ อนุมัติแผนการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2552 สพบ. แจ้งแนวทางวิธีการส่งเสริมให้มีกระบวนการและกิจกรรมการเรียนรู้ ตามหนังสือที่ 8672 ลงวันที่ 25 พฤษภาคม 2552 สชป.3 แต่งตั้ง คณะทำงานจัดการความรู้ของ สชป.3 และคณะทำงานย่อย เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2552 (ปีงบประมาณ 2552) สชป.3 ปรับปรุง คณะทำงานจัดการความรู้ใหม่ เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2552 (ปีงบประมาณ 2553)

  4. 2. ทำไมต้องมี KM พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 หมวด 3 มาตรา 11 ส่วนราชการ มีหน้าที่พัฒนาความรู้ในส่วนราชการเพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ ฯ เหตุผลของมาตรา 11 - เพื่อผลักดันแนวคิด ธรรมาภิบาล (Good Governance) - เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการ ของส่วนราชการให้สอดคล้องกับการบริหารราชการ และเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ตามมาตรานี้ จึงเป็นที่มาของ PMQA 7 หมวด

  5. 2. ทำไมต้องมี KM (ต่อ)

  6. 3. KM คืออะไร KM คือ การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในส่วนราชการ ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสารมาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์การสามารถเข้าถึงความรู้และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพส่งผลให้องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด

  7. ประเภทของความรู้ ความรู้ มี 2 ประเภท ประเภทที่ 1 ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) ประเภทที่ 2 ความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge)

  8. 4. เป้าหมายของ KM มี 4 ประการ 1. บรรลุเป้าหมายของงาน 2. บรรลุเป้าหมายของการพัฒนาคน 3. บรรลุเป้าหมายของการพัฒนาองค์กรไปเป็นองค์กรเรียนรู้ 4. บรรลุความเป็นชุมชน เป็นหมู่คณะ ความเอื้ออาทรระหว่างกัน ในที่ทำงาน

  9. 5. กระบวนการ KM มี 7 ขั้นตอน 1. การบ่งชี้ความรู้ 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ 4. การประมวล และกลั่นกรองความรู้ 5. การเข้าถึงความรู้ 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 7. การเรียนรู้

  10. กรมชลประทานจัดการความรู้อย่างไรกรมชลประทานจัดการความรู้อย่างไร

  11. แนวทางจัดการความรู้กรมชลประทาน 10 ประการ สร้างวัฒนธรรมใหม่ 2. สร้างวิสัยทัศน์ร่วม 3. สร้างและใช้ความรู้ในการทำงานและสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ 4. เรียนลัด 5. สร้างการเปลี่ยนแปลงด้วยยุทธศาสตร์เชิงบวก 6. จัดพื้นที่หรือเวที 7. พัฒนาคน 8. ระบบให้คุณให้รางวัล 9. หาเพื่อนร่วมทาง 10. จัดทำ “ขุมความรู้”

  12. 6. การดำเนินงาน KM ของ สชป.3 ที่ผ่านมา • กรมฯ โดย KM ทีม จะกำหนดกรอบแนวทางการจัดการความรู้ให้แก่หน่วยงานต่างๆไปดำเนินการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์กรมฯ • ปี 2552 • - กรมฯ ให้เลือกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันยุทธศาสตร์ 3 ด้าน คือ ด้านพัฒนาแหล่งน้ำ, ด้านบริหารจัดการน้ำ และด้านป้องกันและบรรเทาภัยจากน้ำ

  13. - สชป.3 เลือกจัดทำแผนจัดการความรู้ สชป.3 ด้านบริหารจัดการน้ำ มีองค์ความรู้ที่จำเป็น คือ ปัจจัยความสำเร็จในการบริหารจัดการน้ำชลประทานโดยชุมชนมีส่วนร่วม เสนอ • - ปฎิบัติตามกระบวนการ 7 ขั้นตอน • - แนวทางจัดการความรู้ 10 ประการ • - กรมชลประทานใช้ตัวชี้วัด คือ กรอบการประเมินผลงานจากความรู้และกิจกรรมด้านต่างๆ 8 เรื่อง

  14. กรอบการประเมินผลงานจากความรู้และกิจกรรมด้านต่างๆ 8 เรื่อง • 1. เอกสารคู่มือกระบวนการปฏิบัติงานหรือ • มาตรฐานที่หน่วยงานจัดทำขึ้น 2. เอกสาร/บทคัดย่อทางวิชาการ 3. นวัตกรรม 4. บทความวิชาการจากบุคลากรภายใน/นอก 5. วิดีทัศน์ สื่อประสมต่างๆ 6. ระเบียบ คำสั่ง แนวทางปฏิบัติต่างๆ 7. การสรุปบทเรียน 8. การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

  15. 6. การดำเนินงาน KM ของ สชป.3 ที่ผ่านมา (ต่อ) • ปี 2552 สชป.3 ดำเนินการจัดการความรู้ ตามกรอบการประเมินผลงานจากความรู้และกิจกรรมด้านต่างๆ ได้รวมทั้งสิ้น • 16 เรื่อง • ปี 2553 ที่ผ่านมา สชป.3 เลือกจัดทำแผนจัดการความรู้ ด้านบริหารจัดการน้ำ มีองค์ความรู้ที่จำเป็น คือ ปัจจัยความสำเร็จในการบริหารจัดการน้ำชลประทานโดยชุมชนมีส่วนร่วม ต่อยอดจากปี 2552 เน้นการเพิ่มความรู้ให้เจ้าหน้าที่ ด้านการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการน้ำ (คสช.) ดำเนินการจัดการความรู้ ตามกรอบการประเมินผลงานจากความรู้และกิจกรรมด้านต่างๆ ได้รวมทั้งสิ้น 345 เรื่อง ดังนี้

  16. 6. การดำเนินงาน KM ของ สชป.3 ที่ผ่านมา (ต่อ) • 1.เอกสารคู่มือ กระบวนการปฏิบัติงานหรือมาตรฐานที่หน่วยงานจัดทำขึ้น 121 เรื่อง • 2. เอกสาร/บทคัดย่อทางวิชาการ 11 เรื่อง • 3. นวัตกรรม 3 เรื่อง • 4. บทความวิชาการจากบุคลากรภายใน/นอก 22 เรื่อง • 5. วีดิทัศน์ สื่อประสมต่างๆ 32 เรื่อง • 6. ระเบียบ คำสั่ง แนวทางปฏิบัติต่างๆ 53 เรื่อง • 7. การสรุปบทเรียน 24 เรื่อง • 8. การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 14 เรื่อง

  17. 7. ผลงานเด่น KM สชป.3 ปี 2553 7.1 นวัตกรรม มี 3 นวัตกรรม ซึ้งได้นำเสนอในที่ประชุมผู้บริหารกรมฯ ได้แก่

  18. การรายงานผลการเบิกจ่ายออนไลท์การรายงานผลการเบิกจ่ายออนไลท์

  19. เครื่องเจียระไนจานดิสเบรกแบบประชิดล้อเครื่องเจียระไนจานดิสเบรกแบบประชิดล้อ

  20. การบริหารจัดการชุมชนโดยกลุ่มผู้ใช้น้ำมีส่วนร่วม (C95)

  21. 7.2 การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การฝึกอบรมเป็นวิทยากรกระบวนการเบื้องต้นโดยวิธีการมีส่วนร่วม 3 รุ่น (คสช.) รุ่นที่ 3 รุ่นที่ 1 รุ่นที่ 2

  22. 7.3 Website คลังความรู้ วิวัฒนาการของเว็บไซต์

  23. 8. ปัญหา-อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ปัญหา – อุปสรรค 1) เจ้าหน้าที่ ยังไม่มีความรู้ด้านการจัดการความรู้ที่แท้จริง 2) เจ้าหน้าที่ให้ความสำคัญกับ KM น้อย ยังขาดความสนใจ 3) ขาดแรงจูงใจ อ้างงานมีมาก ไม่มีผลตอบแทน 4) ขาดการมอบหมายงานและติดตามอย่างจริงจัง 5) ไม่มีลูกค้าสนใจสิ่งที่เสนอ ขาดการนำความรู้ไปปฏิบัติ ไม่มีการอ้างอิงความรู้

  24. 8. ปัญหา-อุปสรรค และแนวทางแก้ไข (ต่อ) แนวทางแก้ไข 1) ผู้บริหารของหน่วยงานต้องมีส่วนร่วมและให้ความสำคัญมากขึ้น 2) จัดประชุมสัมมนาให้ความรู้กับเจ้าหน้าที่มากขึ้น 3) สร้างต้นแบบการเรียนรู้ ย่อยลงไปถึงเจ้าหน้าที่ทุกระดับ 4) ระบุผลตอบแทน(รางวัล,เงิน,ศึกษาดูงาน,ยกย่อง) 5) ทุกหน่วยงานมีผู้รับผิดชอบติดตามงานตามแผน 6) ประชาสัมพันธ์ให้มากขึ้น และมีการสื่อสารแสดงถึงการนำความรู้ไปใช้ปฏิบัติให้มากขึ้น

  25. 9. แนวทางการดำเนินงาน KM สชป.3 ปี 2554 9.1 ปรับปรุงคณะทำงานใหม่ 9.2 สนับสนุนให้มีทีม KM ของหน่วยงานและให้มีการปฏิบัติขยายผลเพิ่มขึ้น 9.3 การเสริมสร้างความรู้ให้ทีม KM และเจ้าหน้าที่ทุกสายงาน(เน้น คสช. และวิทยากรกระบวนการ) 9.4 ปรับปรุง Website ให้น่าสนใจยิ่งขึ้น (เน้นสิ่งที่สำนักอื่นไม่มี เราทำได้ และนำไปใช้ได้จริง) 9.5 สร้างทีมวิจัยและความรู้เรื่องการวิจัยให้หน่วยงาน

  26. 9. แนวทางการดำเนินงาน KM สชป.3 ปี 2554 9.6 สร้างชุมชนนักปฏิบัติ (COP : Community of Practice) เน้นการทำประมาณการ, การทำ Website, การส่งน้ำ 9.7 ดำเนินการตามแนวทางของปี 2553 ต่อเนื่อง 9.8 Social network ใช้ Facebookเป็นเครื่องมือ ในการดำเนินการ 9.9 HeadLineบนเว็บไซต์หลัก

  27. Social network HeadLine

  28. แหล่งศึกษาอ้างอิงเพิ่มเติมแหล่งศึกษาอ้างอิงเพิ่มเติม http://irrigation.rid.go.th/rid3/2010/v2/news.php : เว็บไซต์ สำนักชลประทานที่ 3

  29. แหล่งศึกษาอ้างอิงเพิ่มเติมแหล่งศึกษาอ้างอิงเพิ่มเติม http://kmcenter.rid.go.th/kmc03 : เว็บไซต์ คลังความรู้ สชป.3

  30. แหล่งศึกษาอ้างอิงเพิ่มเติมแหล่งศึกษาอ้างอิงเพิ่มเติม http://kmcenter.rid.go.th/center : เว็บไซต์ คลังความรู้กลาง

  31. แหล่งศึกษาอ้างอิงเพิ่มเติมแหล่งศึกษาอ้างอิงเพิ่มเติม http://www.facebook.com/#!/profile.php?id=100001665154097 : Face Book สชป.3 http://www.facebook.com/#!/profile.php?id=100001665154097 : Face Book สชป.3

  32. จบการนำเสนอ ขอบคุณครับ

More Related