1 / 4

หลักฐานทางประวัติศาสตร์

หลักฐานทางประวัติศาสตร์. ความหมาย. การแบ่งประเภท. ร่องรอยการกระทำ การพูด การเขียน การประดิษฐ์ การอยู่อาศัยของมนุษย์ ในอดีต. 1. แบ่งตามยุคสมัย. 3. แบ่งตามลำดับความสำคัญ. 2. แบ่งตามลักษณะหรือวิธีการบันทึก.

hamal
Download Presentation

หลักฐานทางประวัติศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ความหมาย การแบ่งประเภท ร่องรอยการกระทำ การพูด การเขียน การประดิษฐ์ การอยู่อาศัยของมนุษย์ ในอดีต 1.แบ่งตามยุคสมัย 3.แบ่งตามลำดับความสำคัญ 2.แบ่งตามลักษณะหรือวิธีการบันทึก -หลักฐานสมัยก่อนประวัติศาสตร์ คือ หลักฐานที่เกิดขึ้นในสมัยที่ยังไม่มีการบันทึกเป็นอักษร -หลักฐานสมัยประวัติศาสตร์ คือ หลักฐานสมัยที่มนุษย์สามารถประดิษฐ์ตัวอักษร และบันทึกในวัสดุต่างๆ -หลักฐานประเภทลายลักษณ์อักษร เช่น จารึก - หลักฐานไม่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น หลักฐานโบราณคดี -หลักฐานปฐมภูมิ เช่น สนธิสัญญา - หลักฐานทุติยภูมิ อ้างอิง http://www.phawatsat.ob.tc/history05.html

  2. วิธีการทางประวัติศาสตร์วิธีการทางประวัติศาสตร์ ความหมาย ขั้นตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์ การรวบรวม พิจารณาไตร่ตรอง วิเคราะห์และตีความจากหลักฐานแล้วนำมาเปรียบเทียบอย่างเป็นระบบ เพื่ออธิบายเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นในอดีตว่าเหตุใดจึงเกิดขึ้น -ขั้นที่1 การกำหนดเป้าหมาย -ขั้นที่2 การรวบรวมข้อมูล -ขั้นที่3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน -ขั้นที่4 การตีความหลักฐาน -ขั้นที่5 การสังเคราะห์และการวิเคราะห์ ข้อมูล อ้างอิง http://learn.pbi.ac.th/html/social2-3.htm

  3. ขั้นตอนทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนทางประวัติศาสตร์ ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดเป้าหมาย ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูล ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน ขั้นตอนที่ 4 การตีความหลักฐาน การรวบรวมข้อมูลที่ดีจะต้องจดบันทึกรายละเอียดต่างๆ ทั้งข้อมูลและแหล่งข้อมูลให้สมบูรณ์และถูกต้อง เพื่อการอ้างอิงที่น่าเชื่อถือ การพิจารณาข้อมูลในหลักฐานว่าผู้สร้างหลักฐานมีเจตนาที่แท้จริงอย่างไร เป็นขั้นตอนแรก นักประวัติศาสตร์ต้องมีจุดประสงค์ชัดเจนว่าจะศึกษาอะไร อดีตส่วนไหน สมัยอะไร และเพราะเหตุใด เป็นการตั้งคำถามที่ต้องการศึกษา พิจารณาตรวจสอบหลักฐานที่ได้คัดเลือกไว้แต่ละชิ้นว่ามีความน่าเชื่อถือเพียงใด แต่เป็นเพียงการประเมินตัวหลักฐาน มิได้มุ่งที่ข้อมูลในหลักฐาน ดังนั้นขั้นตอนนี้เป็นการสกัดหลักฐานที่ไม่น่าเชื่อถือออกไปการวิพากษ์ข้อมูลหรือวิพากษ์ภายใน http://learn.pbi.ac.th/html/social2-3.htm

  4. จัดทำโดย นางสาว ธราทิพย์ เขื่องถุ่ง มัธยมศึกษาปีที่ 5/1

More Related