130 likes | 432 Views
Solubilization and its application. McBain and Hutchinson treat solubilization as a distribution phenomenon between two phases: an aqueous phase and a micellar phase.
E N D
McBain and Hutchinson treat solubilization as a distribution phenomenon between two phases: an aqueous phase and a micellar phase. As a first approximation the solubility of organic compounds in the aqueous phase is the same as in pure water. While the micelles are not a true separate phase, it is a convenient fiction. INTRODUCTION
เทคนิคนี้เป็นการเพิ่มการละลายโดยอาศัยสารลดแรงตึงผิว หรือที่นิยมเรียกว่า surfactants หรือ surface active agent หรือ amphiphile ซึ่งคือโมเลกุลหรือไอออนซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วน คือ • ส่วนที่มีขั้วหรือส่วนที่ชอบน้ำ (hydrophilic) • ส่วนที่ไม่มีขั้วหรือส่วนที่ไม่ชอบน้ำ (hydrophobic) การเลือกใช้สารลดแรงตึงผิวในการละลาย (micellarsolubilization)
การใช้สารลดแรงตึงผิว (micellar solubilization) การเพิ่มการละลายโดยการใช้ตัวทำละลายร่วม (cosolvency) การปรับ pH เพื่อให้เกิดการละลายของยาที่เป็นอิเล็คโตรไลท์อ่อนโดยการใช้ระบบบับเฟอร์ การเกิดสารประกอบเชิงซ้อน (complexation) โดยทั่วไปแล้วการใช้เทคนิคการเพิ่มการละลายโดยใช้ตัวทำละลายร่วม (cosolvency) เทคนิคการเพิ่มการละลาย
1. สารลดแรงตึงผิวชนิดที่มีประจุลบ (Anionic surfactant) ตัวอย่างที่นิยมใช้ คือ Sodium laurylsulphate (SLS) 2. สารลดแรงตึงผิวชนิดที่มีประจุบวก (Cationic surfactant) สารลดแรงตึงผิวในกลุ่ม quaternary ammonium และ pyridinium เช่น cetrimide 3. สารลดแรงตึงผิวชนิดไม่มีประจุ (Non ionic surfactant) กลุ่มของ Sorbitan esters เป็น ester ระหว่าง sorbitolและ anhydrides ของ oleic acid หรือที่นิยมเรียกว่า Span ชนิดของสารลดแรงตึงผิวที่นิยมใช้
คือ กระบวนการละลายสารที่ละลายน้ำได้น้อยโดยอาศัยสารลดแรงตึงผิวโดยสารที่ไม่ค่อยละลายน้ำเหล่านี้จะถูกละลายอยู่ในส่วนของโมเลกุลที่ไม่ชอบน้ำของสารลดแรงตึงผิว (สาย hydrocarbon) เกิดการรวมตัวกันเกิดเป็นไมเซลล์ • ยาหรือสารที่ถูกละลายเรียกว่า solubilizate • ตัวถูกละลาย (solute) การเพิ่มการละลายโดยใช้สารลดแรงตึงผิว (Micellarsolubilization)
ความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิว • สูตรโครงสร้างทางเคมีของสารลดแรงตึงผิว และตำแหน่งของ solbilizateในไมเซลล์ • ลักษณะโครงสร้างของ solubilizate • อิทธิพลของ pH • อิเล็กโตรไลด์ (electrolyte) ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิด solubilization
การจัดเรียงตัวของ micelles ในรูปแบบต่างๆ เมื่อเพิ่มความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิว
การเรียงตัวของสารลดแรงตึงผิวและรูปร่างของ micelle1 • (A) spherical micelle ในตัวทำละลายที่เป็นน้ำ • (B) spherical micelle ในตัวทำละลายที่ไม่ชอบน้ำ • (C) laminar micelle เมื่อความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิวชนิดมีประจุ (ionic surfactant) สูงขึ้น
เพิ่มขีดการละลายของยาในปัจจุบันเพิ่มขีดการละลายของยาในปัจจุบัน การใช้สารลดแรงตึงผิวชีวภาพที่หลากหลายเพื่อใช้ในการขจัดคราบ การฟื้นฟูสภาพน้ำดาลด้วยการใช้สารลดแรงตึงผิว การสกัดโลหะทองไอออนด้วยสมบัติจุดเริ่มขุ่นของสารลดแรงตึงผิว Applications
ผู้จัดทำ • น.ส. พรณ์ทิพย์ รักษาสวัสดิ์ 500510013 • น.ส. จักรีรา ปัญญาแก้ว 500510037 • น.ส. จิตรวดี พรมมา 500510039 • น.ส. ณัฐฐา ล้อมรอบ 500510060 • นาย ณัฐพล ยอดเพชร 500510064 • น.ส. ณัฐยาพร รัตนวิจิตร 500510065 • นาย ณัฐวุฒิ ชัยชมภู 500510067 • น.ส. ณีรนุช อินต๊ะแก้ว 500510068 • น.ส. พจนพร ฮวบเจริญ 500510108 • น.ส. พณิตา เหลือล้น 500510109 • น.ส. พรชนก จินะแปง 500510112