1.76k likes | 3.7k Views
ศึกษานิเทศก์แนวใหม่. หลักสูตรอบรมพัฒนาระบบนิเทศแนวใหม่ กลุ่มพัฒนาและส่งเสริมการนิเทศ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. คณะวิทยากร จุดการอบรมจุดที่ ๘ โรงแรมลา พาโลมา จังหวัดพิษณุโลก จรรยา เรืองมาลัย สพท.นครสวรรค์ เขต ๑
E N D
ศึกษานิเทศก์แนวใหม่ หลักสูตรอบรมพัฒนาระบบนิเทศแนวใหม่ กลุ่มพัฒนาและส่งเสริมการนิเทศ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คณะวิทยากร จุดการอบรมจุดที่ ๘ โรงแรมลา พาโลมา จังหวัดพิษณุโลก • จรรยา เรืองมาลัย สพท.นครสวรรค์ เขต ๑ • พรพรรณ ศรีทอง สพท.พิจิตร เขต ๑ • วิไลวรรณ เหมือนชาติ สพท.สุรินทร์ เขต ๑ • เฉลิมชัย พันธ์เลิศ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ.
กิจกรรม ให้ท่านอภิปรายในกลุ่มเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของ พี่เลี้ยง ผู้ชี้แนะ และกัลยาณมิตรนิเทศ (5 นาที) ผู้ดำเนินการสุ่มนำเสนอ
ศึกษานิเทศก์ ผู้ชี้แนะ พี่เลี้ยง ศน. กัลยาณมิตร
Mentor คือใคร... ใครคือ Mentor Mentorคือพี่เลี้ยง ที่มี • ประสบการณ์สูงและเชี่ยวชาญเฉพาะทาง • ปฏิบัติงานร่วมกับผู้มีประสบการณ์น้อยกว่าหรือ เพิ่งเริ่มเข้าสู่ตำแหน่ง อุปัชฌาย์ กับ พระบวชใหม่
สัมพันธภาพของพี่เลี้ยงและผู้ร่วมงานสัมพันธภาพของพี่เลี้ยงและผู้ร่วมงาน • สัมพันธภาพเชิงบวก • การประพฤติตนเป็นต้นแบบของพี่เลี้ยง • การเคารพความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
บทบาทของพี่เลี้ยง • เป็นผู้ฟังที่ดี • รู้จักตั้งคำถามให้เหมาะสม • สนับสนุนให้ผู้ร่วมงานประเมินตนเอง
บทบาทของพี่เลี้ยง • สร้างสถานการณ์ที่ท้าทายความสามารถ เพื่อพัฒนาศักยภาพ • ช่วยกำหนดเป้าหมายการทำงาน
บทบาทของพี่เลี้ยง • พัฒนาทางเลือกที่หลากหลาย • ให้ข้อมูลย้อนกลับที่เที่ยงตรง จริงใจ
ผู้ชี้แนะ (Coach) คือผู้ให้คำชี้แนะทั้งส่วนตัวและ ชี้แนะแบบกลุ่ม โดยเน้นผลการพัฒนา งาน ทักษะ ศักยภาพให้สูงขึ้น
บทบาทของโค้ช เป็นกระจกสะท้อนความคิดและสภาพที่เป็นจริงอย่างเป็นระบบด้วยบรรยากาศสร้างสรรค์
บทบาทของโค้ช หน้าต่างที่เปิดโอกาสสู่การเชื่อมโยงความรู้และปัจจัยภายนอกเพื่อเพิ่มทางเลือกและความมั่นใจในการตัดสินใจและลงมือกระทำการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาตนเอง
บทบาทของโค้ช สร้างความไว้วางใจ (Building trust) ความเข้าใจ และสนับสนุนให้คิดต่อเนื่อง
คุณลักษณะที่จำเป็นของโค้ชคุณลักษณะที่จำเป็นของโค้ช • มีความยืดหยุ่นไวต่อความรู้สึก • และเป็นกัลยาณมิตร กับทุกคน • เป็นบุคคลที่มีต้นทุน ของความรู้ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา วิธีสอน รวมถึงมีบุคลิกภาพและเจตคติที่ดีสม่ำเสมอ • มีพื้นฐานและประสบการณ์ที่เข้าใจ ธรรมชาติและวัฒนธรรมการทำงาน • มีการพัฒนาทักษะ การฟัง การคิด การถาม และการเขียนที่ชัดเจน • มีระบบการคิดทบทวน (Reflective Thinking) • มีพฤติกรรมการมองเชิงบวก จับถูก คิดถึงปัญหาเริ่มจากตนเอง • มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พูดน้อยลง ฟังมากขึ้น ไม่สั่งการใด ๆ • ช่วยกำหนดจุดพัฒนา เชื่อมโยงและสนับสนุนความเปลี่ยนแปลง
ศีล และ ธรรมกับการปรับกระบวนทัศน์ เพื่อพัฒนากระบวนการคิด ของโค้ช ศีลหรือข้อละเว้น * ห้ามบอกคำตอบ(ถ้าจำเป็นต้องบอก ให้ยกตัวอย่าง 2 ตัวอย่าง) * ห้ามสั่ง * ห้ามสอน ธรรมหรือข้อควรปฏิบัติ * จุดประกายความคิด(Inspire) * ห่วงใยเอื้ออาทร (Concern) * ให้กำลังใจและสนับสนุน ให้กล้าเรียนรู้สู้สิ่งยาก (Challenge & Supporting) พัฒนากระบวนการคิด
Reflective Coaching คือการชี้แนะที่สะท้อนให้ผู้รับการชี้แนะ เกิดการคิด วิเคราะห์ พัฒนา แก้ไข ด้วยตนเอง
Upper line Normal line ปัจจุบัน อดีต อนาคต Under line Reflective Coaching สำหรับโค้ช ขณะนี้เรา กำลังจะไปที่ใด อยู่จุดไหน และจะไปถึงได้อย่างไร เราคือผู้กำหนดอนาคต
การนิเทศแบบกัลยาณมิตรการนิเทศแบบกัลยาณมิตร หลักธรรมความเป็นกัลยาณมิตร ๗ ประการ ได้แก่ ๑. ปิโย มีความน่ารัก สร้างความสนิทสนม ชวนใจให้อยากเข้าไปศึกษา
การนิเทศแบบกัลยาณมิตรการนิเทศแบบกัลยาณมิตร ๒. ครุ น่าเคารพ ประพฤติสมควรแก่ฐานะ ทำให้เกิดความรู้สึกอบอุ่นใจเป็นที่พึ่งได้และปลอดภัย ๓. ภาวนีโย น่าเจริญใจ น่ายกย่อง มีความรู้แท้จริง ทั้งเป็นผู้ฝึกอบรมและปรับปรุงตนอยู่เสมอ ควรเอาเป็นเยี่ยงอย่าง
การนิเทศแบบกัลยาณมิตรการนิเทศแบบกัลยาณมิตร ๔. วัตตา จะ รู้จักพูดให้ได้ผล รู้จักชี้แจงให้เข้าใจได้ รู้ว่าเมื่อไหร่ควรพูดอะไรอย่างไร คอยให้คำแนะนำ ว่ากล่าวตักเตือน เป็นที่ปรึกษาที่ดี ๕. วจนักขโม อดทนต่อถ้อยคำ พร้อมจะรับฟังคำปรึกษา ซักถามข้อเสนอแนะ วิพากษ์วิจารณ์ อดทน ฟังได้ไม่เบื่อหน่าย ไม่ฉุนเฉียว ไม่เสียอารมณ์
การนิเทศแบบกัลยาณมิตรการนิเทศแบบกัลยาณมิตร ๖. คมภีรญจ กถ กตตา แถลงเรื่องล้ำลึกได้ สามารถอธิบายเรื่องยุ่งยาก ซับซ้อนให้เข้าใจและให้เรียนรู้เรื่องราวที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้นไป ๗. โน จภูฐาเน นิโยชเย ไม่ชักนำในอฐานะ คือ ไม่แนะนำในเรื่องเหลวไหล หรือชักจูงไปในทางเสื่อมเสีย
ลักษณะที่แตกต่างระหว่างพี่เลี้ยง (Mentoring) และผู้ชี้แนะ (Coaching) กัลยาณมิตรนิเทศ
4 หน่วยการเรียนรู้ : - 1. การพัฒนาประสิทธิภาพตนเอง 2. การพัฒนาความเป็นผู้นำทางวิชาการ 3. การพัฒนาความสามารถในการปรับกระบวนทัศน์ และโน้มน้าวให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4. การสร้างทีมที่มีประสิทธิภาพ การพัฒนาสู่ความเป็นพี่เลี้ยง ( Mentor )
รู้บทบาทหน้าที่ของตน รู้บทบาทหน้าที่ของตน รู้จักตนเอง พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ อุปนิสัย 7 ประการที่พัฒนาสู่ผู้มีประสิทธิภาพสูง (Stephen R.Covey ) หน่วยที่ 1 การพัฒนาประสิทธิภาพตนเอง
TEFCAS โดย Tony Buzan T = Try E = Event F = Feedback C = Check A = Adjust S = Success การบริหารจัดการเวลา หน่วยที่ 1 การพัฒนาประสิทธิภาพตนเอง (ต่อ)
ลักษณะการสอนที่ดีและการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ลักษณะการสอนที่ดีและการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ความสำคัญของการติดตามกำกับ การวัดผล และการทบทวน การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการคิด และการเรียนรู้ด้วยตนเอง ( Self - Directed ) วิธีปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนให้ดีขึ้น ( Multiple Intelligences, Meta- cognition, BBL, VAK Teaching Techniques) หน่วยที่ 2 การพัฒนาความเป็นผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำ จิตวิทยาด้านการเปลี่ยนแปลง การเข้าใจรูปแบบการทำงานและพฤติกรรมของผู้ร่วมงาน เครื่องมือ – เทคนิควิธีการที่ทำ ให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (กระบวนการเปลี่ยนแปลง R+V+P = C,M4D) หน่วยที่ 3การพัฒนาความสามารถในการปรับกระบวนทัศน์ และโน้มน้าวให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
หน่วยที่ 4 การสร้างทีมให้มีประสิทธิผล ทักษะของศึกษานิเทศก์ในการสร้างทีม การชี้แนะ (Coaching) การตั้งคำถาม (Questioning) การสนทนา (Dialogue) การให้ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback)
กิจกรรมหน่วยที่ 1 การพัฒนาประสิทธิภาพตนเอง
ลองนึกถึงเหตุการณ์ยุ่งยากที่เกิดขึ้นไม่นานมานี้ ซึ่งเป็นเรื่องที่คุณต้องเข้าไปเกี่ยวข้องเป็นคณะทำงานด้วย เขียนรายการประมาณ 4-5 อย่างที่คุณคิดว่าทำได้ดีแล้ว และเขียนรายการอีก 4-5 อย่างที่คุณคิดว่าน่าจะทำได้ดีกว่านี้ สิ่งที่เขียนต้องเป็นพฤติกรรมและการกระทำของคุณเอง ไม่ใช่การกระทำของคนอื่น WWW = What Went Well สิ่งที่ทำได้ดีแล้ว EBI = Even Better If น่าจะดีกว่านี้ถ้า กิจกรรม ตระหนักรับรู้จุดแข็งและจุดที่ต้องพัฒนาของตน WWW 1.…………………………....................... 2 ……………………………………… 3……………………………………… 4……………………………………… 5……………………………………… EBI 1…………………………....................... 2……………………………………… 3……………………………………… 4……………………………………… 5………………………………………
กิจกรรม การรู้จักตนเอง คำชี้แจง 1. วาดภาพ 3 ภาพลงในกระดาษโดยไม่เน้นความสวยงาม แต่สามารถสื่อความหมายได้ (10 นาที) 2. อธิบายความหมายของภาพกับเพื่อนที่นั่งข้าง ๆ (10 นาที) บทบาทของข้าพเจ้าในปัจจุบัน ข้าพเจ้ามองตนเอง คนอื่นมองข้าพเจ้า
-Rationale + Vision + Plan = Change - M4D Mobilization Discover + Deepen + Develop + Delivery กระบวนการเปลี่ยนแปลง R+V+P = C
เครื่องมือสำหรับการปรับเปลี่ยนเครื่องมือสำหรับการปรับเปลี่ยน • การระดมสมอง (Brainstorming) • เทคนิคกระดาษสีน้ำตาล (Brown paper Technique) • การวิเคราะห์ผังก้างปลา และคำถาม ทำไม 5 คำถาม (Fishbone Analysis & Five Whys) • การวิเคราะห์สนามพลัง (Force – field Analysis)
เครื่องมือสำหรับการปรับเปลี่ยนเครื่องมือสำหรับการปรับเปลี่ยน • ตารางจัดลำดับความสำคัญ ( Prioritization Matrix) • การแก้ปัญหาและการสร้างทีม (Problem Solving /Team Building PSTB ) • การทำผังผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Mapping) • SWOT
กระบวนการเปลี่ยนแปลงซึ่งมักจะใช้เวลาระหว่าง 1 ½ ถึง2ภาคเรียน ขั้นระดมทรัพยากร(Mobilization) ขั้นที่ 1 ขั้นค้นพบ(Discover) ขั้นที่ 2 ขั้นสร้างความเข้าใจเชิงลึก(Deepen) ขั้นที่ 3 ขั้นที่ 4 ขั้นพัฒนา(Develop) ขั้นเสนอผล(Deliver) ขั้นที่ 5
สภาพของโค้งธรรมชาติทางอารมณ์ที่จะตกสู่ขั้นต่ำ ก่อนที่จะสูงขึ้นด้วยแรงจูงใจ ระดมทรัพยกร ค้นพบ สร้างความเข้าใจ เชิงลึก พัฒนา นำเสนอผล . . . และยั่งยืน ความมั่นใจ + บวก • เรามีแผนที่จำนำไปสู่ความสำเร็จ • เรามีคำตอบ ภาวะทางอารมณ์ เรามีการแก้ปัญหา • ตัดสินใจได้ถูกต้อง • เรามีข่าวมาบอก • มีทางการปัญหา • เรามีทางเลือก • มันเป็นเรื่องยาก • มันไม่ใช่ข่าวดี • ไม่แน่ใจว่าจะแก้ปัญหาอย่างไร • มันคลับคล้ายคลับคลาว่า …. - ลบ
การทำ“swim lane” process flowchart พอ พอ ผู้ร่วมงานคนทึ่ 1 อาหารเช้าดีหรือไม่ รับประทานอาหารเช้า มีเงินพอหรือไม่ ขอเงินผู้ร่วมงาน ใส่เงินลงในกระเป๋าธนบัตร กลับบ้าน น้ำมันรถพอ แวะเติมน้ำมัน ขับรถไปทำงาน ไม่พอ ไม่พอ ดี ไม่ ผู้ร่วมงานคนทึ่ 2 การเตรียมอาหารเช้า ให้เงินสดเพื่อนร่วมงาน เติมน้ำมันรถจนเต็ม
Fishbone Analysis - การวิเคราะห์ผังก้างปลา สาเหตุระดับ 1 สาเหตุระดับ 1 สาเหตุระดับ 1 สาเหตุระดับ 2 สาเหตุระดับ 2 สาเหตุระดับ 2 สาเหตุระดับ 2 ประเด็น สาเหตุระดับ 2 สาเหตุระดับ 2 สาเหตุระดับ 2 สาเหตุระดับ 2 สาเหตุระดับ 1 สาเหตุระดับ 1 สาเหตุระดับ 1
ลักษณะการวิเคราะห์สนามพลังลักษณะการวิเคราะห์สนามพลัง แรงต้าน แรงขับ 4 2 1 0 1 2 3 4 3
ตารางลำดับความสำคัญ ตารางลำดับความสำคัญ เป็นกรอบแนวคิดที่ช่วยจัดลำดับความสำคัญของประเด็นต่างๆ ( ตาราง 1 ) ทางเลือก ( ตาราง 2 ) 4 4 เป็นประเด็นที่มีความสำคัญสูง ความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติสูง สูง สูง 3 3 I II ผลกระทบ ผลกระทบ 2 2 1 1 ต่ำ ต่ำ 1 2 3 4 1 2 3 4 ต่ำ อ่อนแอ แรงขับ เข็มแข็ง ความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ
กระบวนการ 7 ขั้นตอนในการสร้างทีม ช่วงเวลา 60 นาที ประเด็นปัญหา 1. 10 นาที ภูมิหลัง ระดมแนวคิด 2. 20 นาที คัดเลือกแนวคิด การวิเคราะห์ประโยชน์ /ข้อระวัง 3. 20 นาที งานสำคัญที่ต้องปฏิบัติ 4. 10 นาที แผนปฏิบัติการ
ผังวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องผังวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง จัดทำผังโดยวิเคราะห์ทัศนคติ อิทธิพล และระดับความสัมพันธ์ของผู้เกี่ยวข้องที่มีต่อโครงการ ความสัมพันธ์ Z ทีม R คณะทำงาน 1 ผอ.รร.2 กลุ่ม K กลุ่ม X Y ระดับความสัมพันธ์ หัวหน้างาน สัมพันธ์มาก ผู้บริหารองค์กร คณะทำงาน 2 สัมพันธ์น้อย ผอ.รร.1 ขนาดของวงกลม แสดงระดับอิทธิพล Y ทัศนคติ สนับสนุนการเปลี่ยนแปลง ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
ตารางกริดแสดงผังการวิเคราะห์ SWOTของโรงเรียน จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค
กระบวนการ Five Whys เครื่องมือนั้นเหมาะสมสำหรับใช้กับกลุ่มคน 6-10 คน เครื่องมือนี้ใช้ต่อเนื่องกับเทคนิคระดมสมองจะได้รับผลดีที่สุด ระบุ / จำแนกประเด็นให้ชัดเจน โดยเขียนลงด้านซ้ายของกระดาษ ทำผังให้สมบูรณ์ โดยเริ่มจากซ้ายไปขวา เริ่มจากข้อความที่เป็นประเด็น / ปัญหา และถามกลุ่มด้วยคำถาม “ทำไม” จับประเด็นคำตอบ โดยเขียนลงในกระดาษโพสต์-อิท บันทึกคำตอบ ทำรายการไปทางขวาของแผนผัง พยายามทำให้เป็น 5 ระดับ โดยใช้คำถาม “ทำไม” ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม Why ทำไม ประเด็น ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม
กิจกรรม 5 Whys • ให้สมาชิกในกลุ่มร่วมหาคำตอบจากประเด็นปัญหาในการพัฒนาการอ่านไม่ออกของนักเรียน • จากประเด็นปัญหาการอ่านไม่ออกของนักเรียน จะเป็นคำถาม “ทำไมนักเรียนจึงอ่านไม่ออก” (Why1) • จากคำตอบที่ได้ จะกลายเป็นคำถาม “ทำไม” (Why2) • จากคำตอบที่ได้ จะกลายเป็นคำถาม “ทำไม” (Why3) • จากคำตอบที่ได้ จะกลายเป็นคำถาม “ทำไม” (Why4) • จากคำตอบที่ได้ จะกลายเป็นคำถาม “ทำไม” (Why5) • เขียนลงในกระดาษฟลิปชาร์ด ผู้ดำเนินการสุ่มนำเสนอ
Process of Five Whys ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม Why ทำไม นร.อ่านไม่ออก ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม ทำไม
กิจกรรมหน่วยที่ 4 การสร้างทีมให้มีประสิทธิผล