190 likes | 359 Views
กลุ่มที่ 3. การลดช่องว่างในการบริการ : ทิศทางและแนวโน้มในอนาคต “ การบริการดูแล รักษา เอช ไอวี ”. นายคเชนทร์ ก้อนแก้ว ผู้ประสานงานโครงการฟ้ามิตร สสจ. เชียงใหม่. 1. ประชากรข้ามชาติ และบุคคลอื่นที่ไม่มีสัญชาติไทย ที่มีช่องว่างต่อ การบริการฯคือใคร.
E N D
กลุ่มที่ 3 การลดช่องว่างในการบริการ : ทิศทางและแนวโน้มในอนาคต “ การบริการดูแล รักษาเอชไอวี ” นายคเชนทร์ ก้อนแก้ว ผู้ประสานงานโครงการฟ้ามิตร สสจ.เชียงใหม่
1. ประชากรข้ามชาติ และบุคคลอื่นที่ไม่มีสัญชาติไทย ที่มีช่องว่างต่อ การบริการฯคือใคร • แรงงานข้ามชาติ 3 สัญชาติ (ลาว,พม่า,กัมพูชา) • กลุ่มชาติพันธุ์ เช่น ไทยใหญ่,ลาหู่,กะเหรี่ยง ฯลฯ • แรงงานข้ามชาติสัญชาติเวียดนาม • กลุ่มแรงงานข้ามชาติที่มีความหลากหลายทางเพศ (MSM • ,TG) • กลุ่มแรงงานข้ามชาติที่ใช้สารเสพติดชนิดฉีดและไม่ฉีด • แรงงานข้ามชาติที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี หรือผู้ติดตาม • คนที่ไม่มีเลข 13 หลัก เช่น คนไทยพลัดถิ่น คนไร้รัฐ
2. จุดอ่อนในการบริการฯ ของประชากรในข้อ 1 (ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาสังคม) • การสื่อสารที่หลากหลายภาษา • เครื่องมือสื่อต่างๆ เช่น เอกสารคู่มือไม่เพียงพอและไม่ • ครอบคลุมทุกภาษา • ความถี่ในการเคลื่อนย้ายถิ่นฐานของแรงงานข้ามชาติ เกิด • ความไม่ต่อเนื่องในการให้บริการรักษา • อาชีพที่ไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิต เช่น อาชีพที่ต้องทำงานใน • เวลากลางคืนไม่มีความสะดวกในการเดินทางไปรับบริการ
ความกังวล ความกล้าที่จะเปิดเผยตัว เพื่อเข้ารับบริการ • การเรียกรับผลประโยชน์จากกลุ่มคนบางกลุ่มทำให้ส่งผล • ต่อการเข้ารับบริการ เช่น การเรียกเก็บค่าผ่านทาง • ทัศนคติของผู้ให้บริการของสถานบริการบางแห่งยัง • ให้บริการที่ไม่เป็นมิตร รวมถึงการตรีตราทางสังคม • เศรฐกิจรายได้ของแรงงานข้ามชาติ • ความรู้ ความตระหนักถึงพิษภัย และทัศคติที่ถูกต้อง • ต่อโรคเอดส์ของแรงงานข้ามชาติที่ยังมีน้อย • ระยะทางที่ห่างไกลของสถานบริการ
3. การบริการฯ เวชภัณฑ์ เทคโนโลยี การวินิจฉัย และ การตรวจรักษา มีอุปสรรคอย่างไร • ระบบการจัดส่งยา ARV ที่ขาดช่วงไม่ต่อเนื่องเพราะการ • จัดสรรยาของทางภาครัฐฯ • ยาบางประเภทที่ยังมีราคาแพง • จุดกระจาย CONDOM,สารหล่อลื่นที่มีไม่เพียงพอครอบคลุมใน • พื้นที่ • การตรวจรักษาไม่ครบกระบวนการ VCT อันเนื่องมาจาก • การไม่กลับมาฟังผลของผู้เข้ารับบริการ หรือติดตามตัว • ไม่ได้ • ระบบติดตามดูแลการเยี่ยมบ้านในบางพื้นที่ยังไม่มีความ • ต่อเนื่อง
ระบบติดตามดูแลการเยี่ยมบ้านที่ไม่เอื้ออำนวยกับแรงงาน ระบบติดตามดูแลการเยี่ยมบ้านที่ไม่เอื้ออำนวยกับแรงงาน • ที่มีความหลากหลายทางเพศ และผู้ใช้ยาเสพติด • การบังคับให้ร่วมจ่ายในยาบางประเภท
4. กฎหมาย นโยบาย และความไม่เท่าเทียมในชุมชน ที่เป็นอุปสรรคมีอะไรบ้าง อย่างไร • กฎหมายที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการเปลี่ยนสถานที่เข้ารับบริการ • เช่น ความไม่สะดวกที่จะเข้ารับบริการในสถานบริการใกล้ • บ้าน แต่การข้ามเขตต้องได้รับการอนุญาตจากกรมการ • ปกครอง • ข้อจำกัด ในนโยบายช่วงเวลาการยื่นขอต่อเอกสารต่างๆที่ทำ • ให้แรงงานไม่มีความสะดวก เช่น อยู่ห่างไกล ไม่ทันในการ • ยื่นขอต่อในช่วงเวลานั้น ส่งผลต่อสิทธิต่างๆในการเข้ารับ • บริการดูแล รักษา
ความไม่ชัดเจนในนโยบายการดูแลรักษาในระยะยาว • เช่น การกำหนดการจัดสรรยาให้มีความต่อเนื่อง • ความแตกต่างของนโยบายการจัดสรรยาที่เห็นชัด • ระหว่างคนไทย กับแรงงานข้ามชาติ ทำให้เกิดความ • ไม่เท่าเทียม
ความคิดเห็นในแรงจูงใจ บัตรประกันสุขภาพ แรงงานข้ามชาติ
อีกปัจจัยที่มีส่วนสำคัญในการตัดสินใจซื้อ หรือไม่ซื้อ บัตร ประกันสุขภาพฯ คือทัศนคติที่นายจ้างมีให้กับลูกจ้างในเรื่องบัตรฯ
การลดช่องว่างในการบริการฯ:การลดช่องว่างในการบริการฯ: แผนงานของประเทศ และการสนับสนุน จากกองทุนโลกฯ และแหล่งทุนอื่น “ การบริการดูแล รักษาเอชไอวี ”
จุดอ่อน ปัญหาและอุปสรรค • การสื่อสารที่หลายภาษา รวมถึงเครื่องมือสื่อความรู้ • กิจกรรม • ผลิตสื่อภาษาที่หลายหลายครอบคลุม มีล่ามทุกภาษา • ระดับความรับผิดชอบ • จังหวัด,ท้องถิ่น • ผู้มีบทบาท • กระทรวงสาธารณสุข,กระทรวงแรงงาน,สคร.,สสจ,ท้องถิ่นจังหวัด,หน่วยงานเอกชน อื่นๆ • งบประมาณ • กระทรวงสาธารณสุข,กระทรวงแรงงาน,สคร.,สสจ,ท้องถิ่นจังหวัด,หน่วยงานเอกชน อื่นๆ
จุดอ่อน ปัญหาและอุปสรรค • การเคลื่อนย้ายถิ่นฐานที่มีผลต่อการเข้าถึงบริการ • กิจกรรม • การพัฒนาระบบการส่งต่อ / การดูแลรักษาให้เกิดความต่อเนื่องทั้งในและต่างประเทศ มี ID ที่สามารถตรวจสอบได้และเชื่อมโยงทุกส่วนที่เกี่ยวข้อง • ระดับความรับผิดชอบ • ประเทศ,จังหวัด • ผู้มีบทบาท • สาธารณสุข,มหาดไทย,แรงงาน,พม.,กลาโหม • งบประมาณ • สาธารณสุข,มหาดไทย,แรงงาน,พม.,กลาโหม
จุดอ่อนและอุปสรรค • อาชีพที่ไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแรงงาน • กิจกรรม • ส่งเสริมให้มีคลินิกนอกเวลา,มีการทำโมบาย,จัดกิจกรรมกลุ่มย่อย,ตั้งชมรม เฉพาะกลุ่มในเวลาที่สะดวกกับแรงงาน,ส่งเสริมการเพิ่ม DIC • ระดับความรับผิดชอบ • จังหวัด,ท้องถิ่น • บทบาท • สสจ., สสอ., รพ., รพ.สต., อปท., ท้องถิ่น., อบต., อสม., NGO • งบประมาณ • สสจ., สสอ., รพ., รพ.สต., อปท., ท้องถิ่น., อบต., อสม., NGO
จุดอ่อนและอุปสรรค • ความกังวลใจ กลัวการรังเกียจจากสังคม • กิจกรรม • จัดทำสื่อสาธารณะรณรงค์ลดการตรีตรา ,จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนทัศนคติในทุกระดับที่เกี่ยวข้อง ,ส่งเสริมการให้บริการที่เป็นมิตร • ระดับความรับผิดชอบ • ประเทศ,จังหวัด,ท้องถิ่น • บทบาท • สาธารณสุข, แรงงาน, อปท, ผู้นำชุมชน • งบประมาณ • สาธารณสุข, แรงงาน, อปท,
จุดอ่อนและอุปสรรค • กฎหมาย นโยบายที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการปฏิบัติ เช่น ปัญหาเรื่องนายหน้า, การจัดระบบบริการ, ระยะทางของสถานบริการที่ห่างไกล • กิจกรรม • ปรับนโยบายให้ชัดเจน จริงจังต่อบทลงโทษ ,จัดระบบบริการให้สะดวก ง่ายต่อการเข้ารับสิทธิ์ใกล้ถิ่นฐาน หรือการโอนย้ายสิทธิ์ • ระดับความรับผิดชอบ • ประเทศ, จังหวัด • บทบาท • สาธารณสุข,สสจ., มหาดไทย, ยุติธรรม, พม.,สวัสดิการฯ., ตำรวจ • งบประมาณ • สาธารณสุข, มหาดไทย, ยุติธรรม, พม.
จุดอ่อนและอุปสรรค • ความไม่เพียงพอและไม่ต่อเนื่องของเวชภัณฑ์ยา • กิจกรรม • ปรับระบบยาเข้าสู่ระบบ VMI ให้ รพ.มียาเพียงพอที่จะให้แรงงานผู้มารับบริการ • เพิ่มจุดกระจาย CONDOM & สารหล่อลื่น ให้ครอบคลุมในพื้นที่ • ระดับความรับผิดชอบ • ประเทศ, จังหวัด • บทบาท • การคลัง, สาธารณสุข, องค์กรเภสัช, รพ.ศูนย์, รพ.ชุมชน • งบประมาณ • การคลัง, สาธารณสุข, องค์กรเภสัช, รพ.ศูนย์, รพ.ชุมชน
นางภัสสรา มยาเศสสสจ.ชุมพรนางภัทรศภรณ์ ขนอม สสจ.นครศรีธรรมราชนายวีระชาติ สว่างหลิหมัน ศูนย์อภิบาลผู้เดินทางทะเลสงขลานายลาย สรุณ ศูนย์อภิบาลผู้เดินทางทะเลสงขลานายวิริยะ พุราญสาร มูลนิธิพัฒนาเครือข่ายเอดส์น.ส.เพียรสุดา ทองพูลเพิ่ม มูลนิธิพัฒนาเครือข่ายเอดส์ น.ส.ธิดาลักษณ์ ทำทอง สสจ.มุกดาหารMr.HarkMurngMAP Foundtionน.ส.จารุณีศิริพันธุ์ FARMr.AaronSchubert USAIDน.ส.วัชราภรณ์ สงวนอิน RTF BKKนางภัทรานี ภูวประภาชาติ กองควบคุมโรคเอดส์ฯน.ส.อำพร ณโนนชัย กองควบคุมโรคเอดส์ฯ นายคเชนทร์ ก้อนแก้ว สสจ.เชียงใหม่ สมาชิกกลุ่มที่ 3