1 / 98

การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด และยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์

การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด และยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์. โดย...นายสิงหชัย ผ่องบุรุษ หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด สำนักงานจังหวัดบุรีรัมย์. การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด และยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์. หัวข้อนำเสนอ ที่มาของแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด

Download Presentation

การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด และยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด และยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ โดย...นายสิงหชัย ผ่องบุรุษ หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด สำนักงานจังหวัดบุรีรัมย์ สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

  2. การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ หัวข้อนำเสนอ • ที่มาของแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด • กลไกการบริหารงานจังหวัด/กลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ • ความหมาย/ขอบเขตแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด • การทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด • ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด • ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด • แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด ปี 2554 • ปัญหาอุปสรรคการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

  3. การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ • เดิม กระทรวง ทบวง กรม งบประมาณ งบ FUNCTIONมอบอำนาจ ผวจ. จังหวัด พื้นที่ สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

  4. การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ • จังหวัด CEO (ปี 2547-2549) กระทรวง ทบวง กรม งบประมาณ จังหวัด งบ CEO พื้นที่ สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

  5. การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ • ปี 2550-2551 กระทรวง กรม ทบวง งบประมาณ จังหวัด งบอยู่ดีมีสุข พื้นที่ สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

  6. การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ • ปี 2552-ปัจจุบัน กระทรวง ทบวง กรม งบประมาณ • งบตามแผนพัฒนาจังหวัด • เสนอของบ • ชี้แจงคณะกรรมาธิการฯ • พ.ร.บ.งบประมาณฯ งบตามแผนพัฒนา กลุ่มจังหวัด จังหวัด พื้นที่ สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

  7. ที่มาของแผนพัฒนาจังหวัด พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 โดยมีมาตราที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ • มาตรา 52 วรรคสาม •มาตรา 53/1 •มาตรา 53/2 สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ) 3

  8. มาตรา 52 วรรคสาม เพื่อประโยชน์ในการบริหารงานแบบบูรณาการ ในจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัด ให้จังหวัดหรือกลุ่มจังหวัดยื่นคำ ขอจัดตั้งงบประมาณได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและ เงื่อนไขที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา ในกรณีนี้ให้ถือว่าจังหวัดหรือ กลุ่มจังหวัด เป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการ งบประมาณ สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ) 4

  9. มาตรา 53/1 ให้จังหวัดจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดให้สอดคล้องกับ แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ และความ ต้องการของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด ในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดจัดให้มีการประชุมปรึกษาหารือร่วมกันระหว่าง หัวหน้าส่วนราชการที่มีสถานที่ตั้งทำการอยู่ในจังหวัดไม่ว่าจะเป็น ราชการบริหารส่วนภูมิภาคหรือราชการบริหารส่วนกลางและ ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมดในจังหวัด รวมทั้ง ผู้แทนภาคประชาสังคม และผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด... (มีต่อ) สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ) 5

  10. มาตรา 53/1(ต่อ) การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดตามวรรคหนึ่ง จำนวนและ วิธีการสรรหาผู้แทนภาคประชาสังคม และผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน ตามวรรคสอง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดใน พระราชกฤษฎีกา ***เมื่อประกาศใช้แผนพัฒนาจังหวัดแล้ว ในการจัดทำ แผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และการดำเนิน กิจการของส่วนราชการและหน่วยงานอื่นของรัฐทั้งปวงที่กระทำใน พื้นที่จังหวัดต้องสอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัดดังกล่าว มาตรา 53/2 ให้นำความในมาตรา 53/1 มาใช้บังคับกับการจัดทำ แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดด้วยโดยอนุโลม สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ) 6

  11. หลักการการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (มาตรา6) 1. การบริหารงานจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัดต้องเป็นไปตามแผนพัฒนา จังหวัดหรือแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดแล้วแต่กรณี 2. การสร้างโอกาสและส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐและ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมใน จังหวัดเพื่อเสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขันและการแก้ไขปัญหา ร่วมกันเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน 3. การกระจายอำนาจการตัดสินใจลงไปสู่ระดับผู้ปฏิบัติ เพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพและความรวดเร็วในการปฏิบัติราชการ 4. การส่งเสริมและสนับสนุนให้ท้องถิ่นมีความพร้อมในการรองรับการ กระจายอำนาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 5. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มีความโปร่งใสและมีการตรวจสอบ ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติราชการ สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ) 7 7

  12. กลไกการบริหารงานจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ คณะกรรมการนโยบาย ก.น.จ. ระดับชาติ การบริหารงานจังหวัดและ กลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ นายกรัฐมนตรี ระดับกลุ่มจังหวัด คณะกรรมการ ก.บ.ก. บริหารงานกลุ่มจังหวัด แบบบูรณาการ หัวหน้ากลุ่มจังหวัด ระดับจังหวัด ก.บ.จ. คณะกรรมการ บริหารงานจังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัด แบบบูรณาการ สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ) 8

  13. ก.น.จ. องค์ประกอบ นายกรัฐมนตรี : ประธาน (มาตรา 7) กรรมการ กรรมการและ •รนม.ทุกคน + รัฐมนตรีซึ่ง นรม.มอบหมายให้กำกับ เลขานุการ และติดตามการปฏิบัติราชการในภูมิภาค •รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เลขาธิการ ก.พ.ร. •รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย •ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี กรรมการและ •ปลัดกระทรวงมหาดไทย ผู้ช่วยเลขานุการ •เลขาธิการนายกรัฐมนตรี 1.รองเลขาธิการ ก.พ.ร. •เลขาธิการคณะรัฐมนตรี 2.ข้าราชการสังกัด •ผู้อานวยการสำนักงบประมาณ กระทรวงมหาดไทย •เลขาธิการ สศช. ที่ปลัดกระทรวง •นายกสมาคม อบจ. แห่งประเทศไทย มหาดไทยกำหนด •นายกสมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย •นายกสมาคม อบต. แห่งประเทศไทย งานธุรการ •ประธานกรรมการสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สำนักงาน ก.พ.ร. •ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย รับผิดชอบ •ผู้ทรงคุณวุฒิจาก ก.พ.ร. ที่ประธาน ก.พ.ร. กำหนด ไม่เกิน 3 คน สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ) 9 •ผู้แทนภาคประชาสังคมที่ นรม. แต่งตั้งไม่เกิน 2 คน(มีวาระ 3 ปี)

  14. ก.บ.ก. องค์ประกอบ ประธาน:ผวจ.หัวหน้ากลุ่มจังหวัด (ยกเว้น จชต. ให้ ผอ.ศอ.บต.) รองประธานกรรมการ ผู้ว่าราชการจังหวัดในกลุ่มจังหวัดทุกจังหวัด (มาตรา 12) กรรมการ •ผู้แทนหัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัดในกลุ่มจังหวัดที่ผู้ว่าราชการ จังหวัดมอบหมายจังหวัดละไม่เกิน2 คน(มีวาระ 3 ปี) •นายก อบจ.ในกลุ่มจังหวัดทุกจังหวัด •นายกเทศมนตรีในกลุ่มจังหวัด จังหวัดละ 1 คน •นายก อบต.ในกลุ่มจังหวัด จังหวัดละ 1 คน •ผู้แทนภาคประชาสังคมจังหวัดละ 2 คน(ช=1 ญ=1) (มีวาระ 3 ปี) •ผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน (กลุ่มคัดเลือก) กรรมการและเลขานุการ ข้าราชการในสังกัดกระทรวงมหาดไทยที่ปลัดกระทรวงมหาดไทยแต่งตั้ง กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ) 10 หัวหน้าสำนักงานจังหวัดของทุกจังหวัดในกลุ่มจังหวัด

  15. (มาตรา 10) ก.บ.จ. องค์ประกอบ ประธาน:ผู้ว่าราชการจังหวัด กรรมการ •รองผู้ว่าราชการจังหวัดทุกคน •ผู้แทนหัวหน้าส่วนราชการที่มีสำนักงานอยู่ในจังหวัด ไม่ว่าจะ มีฐานะเป็นราชการส่วนภูมิภาคหรือส่วนกลาง(4-12 คน) * •ผู้แทนรัฐวิสาหกิจที่ดำเนินกิจการอยู่ในจังหวัด(1-4 คน)* •ผู้แทนหัวหน้าหน่วยงานอื่นของรัฐที่มีสำนักงาน อยู่ในจังหวัด (1-4 คน)* •ผู้แทนผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(4-8 คน)* •ผู้แทนภาคประชาสังคม(4-12 คน ช/ญ เท่ากัน)* •ประธานกรรมการหอการค้าจังหวัด •ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัด กรรมการและเลขานุการ * มีวาระอยู่ในตำแหน่ง คราวละ 3 ปี •หัวหน้าสำนักงานจังหวัด สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ) 11

  16. ความหมาย แผนพัฒนาจังหวัด • เป็นรายการเกี่ยวกับโครงการและแผนงานต่างๆ ของจังหวัดที่จำเป็น ต้องจัดทำเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และทิศทางการพัฒนา ของจังหวัดในอนาคต(มาตรา 3) •โดยต้องคำนึงถึงความต้องการและศักยภาพของประชาชนใน ท้องถิ่นในจังหวัด รวมตลอดถึง ความพร้อมของภาครัฐและภาค ธุรกิจเอกชน และยุทธศาสตร์ระดับชาติ (มาตรา 18) • มีกระบวนการรับฟังหรือให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดความ ต้องการในการพัฒนาพื้นที่ของจังหวัดมาพิจารณาให้เกิดความ ผสมผสานไม่ขัดแย้งในด้านใดด้านหนึ่ง (มาตรา 18) แผนพัฒนาจังหวัด ระยะเวลาของ •มีระยะเวลา 4 ปี (สามารถปรับปรุงได้ตลอดเวลา) สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ) 12

  17. แผนพัฒนาจังหวัด ขอบเขตของ •เป็นแผนที่มุ่งการพัฒนาจังหวัดแบบองค์รวมที่ครอบคลุมทุกมิติ ในด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและ ความมั่นคง เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และตอบสนองต่อความ ต้องการของประชาชนในจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัด องค์ประกอบ (มาตรา 18) •อย่างน้อยต้องระบุรายละเอียดของ - วิสัยทัศน์ - ประเด็นยุทธศาสตร์ - เป้าประสงค์ - ตัวชี้วัด - ค่าเป้าหมาย และ - กลยุทธ์ สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ) 13

  18. ความหมาย แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด • เป็นแผนที่แปลงแผนพัฒนาจังหวัดไปสู่การปฏิบัติ โดยระบุถึง โครงการต่างๆ ที่จำเป็นต้องดำเนินการในจังหวัดในแต่ละ ปีงบประมาณเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และทิศทางการพัฒนา ของจังหวัด ทั้งนี้ ไม่ว่าโครงการนั้นจะดำเนินการโดยจังหวัด กระทรวง ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ หรือเอกชน (มาตรา 3) (มาตรา 25) องค์ประกอบ • • อย่างน้อยต้องระบุ • รายละเอียดของโครงการ • เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของงาน • หน่วยงานผู้รับผิดชอบ และ • - งบประมาณที่จะต้องใช้ดำเนินการ โดยต้องมีการระบุให้ชัดเจนว่าโครงการหรืองานใดที่จังหวัดประสงค์จะ สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ) ขอตั้งงบประมาณจากสำนักงบประมาณโดยตรง 14

  19. ความเชื่อมโยง ระหว่างแผนพัฒนาจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด และคำของบประมาณจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด มาตรา 28 เมื่อคณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบกับแผนพัฒนาจังหวัดและ แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดตามที่ ก.น.จ.เสนอแล้ว ให้ ก.น.จ.ส่งให้ สำนักงบประมาณเพื่อใช้ในการจัดสรรงบประมาณ โดยสำนักงบประมาณต้อง ดำเนินการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีให้เพียงพอต่อการดำเนินงานตาม แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด การส่งแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่า จังหวัดได้ยื่นคำของบประมาณต่อสำนักงบประมาณตามกฎหมายว่าด้วย วิธีการงบประมาณแล้วเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับงบประมาณของจังหวัด สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ) 15

  20. แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด • เป็นรายการเกี่ยวกับโครงการและแผนงานต่างๆ ของกลุ่มจังหวัดที่ จำเป็นต้องจัดทำเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และทิศทางการ พัฒนาของกลุ่มจังหวัดในอนาคต(มาตรา 3) ความหมาย • โดยต้องคำนึงถึงความต้องการ และศักยภาพของประชาชนใน ท้องถิ่นในจังหวัด รวมตลอดถึงความ พร้อมของภาครัฐและภาค ธุรกิจเอกชน และยุทธศาสตร์ระดับชาติ • มีกระบวนการรับฟังหรือให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดความ ต้องการในการพัฒนาพื้นที่ของกลุ่มจังหวัดมาพิจารณาให้เกิดความ ผสมผสานไม่ขัดแย้งในด้านใดด้านหนึ่ง (มาตรา 27 นำความในมาตรา 18 มาใช้บังคับโดยอนุโลม) แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ระยะเวลาของ •มีระยะเวลา 4 ปี สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ) 16

  21. แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด •เป็นแผนที่มุ่งเน้นการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม เพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันของกลุ่มจังหวัด และนำไปสู่การกระตุ้น ให้เกิดการลงทุนของภาคเอกชนและสร้างรายได้ให้กลุ่มจังหวัด ขอบเขตของ องค์ประกอบ แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด •อย่างน้อยต้องระบุรายละเอียดของ - วิสัยทัศน์ - ประเด็นยุทธศาสตร์ - เป้าประสงค์ - ตัวชี้วัด - ค่าเป้าหมาย และ - กลยุทธ์ สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ) 17

  22. แผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด • เป็นแผนที่แปลงแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดไปสู่การปฏิบัติ โดยระบุถึง โครงการต่างๆ ที่จำเป็นต้องดำเนินการในกลุ่มจังหวัดในแต่ละ ปีงบประมาณเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และทิศทางการพัฒนา ของจังหวัด ทั้งนี้ ไม่ว่าโครงการนั้นจะดำเนินการโดยจังหวัด กระทรวง ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ หรือเอกชน (มาตรา 3) ความหมาย องค์ประกอบ • • อย่างน้อยต้องระบุ • รายละเอียดของโครงการ • เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของงาน • หน่วยงานผู้รับผิดชอบ และ • - งบประมาณที่จะต้องใช้ดำเนินการ โดยต้องมีการระบุให้ชัดเจนว่าโครงการหรืองานใดที่จังหวัดประสงค์จะ สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ) ขอตั้งงบประมาณจากสำนักงบประมาณโดยตรง 18

  23. ความเชื่อมโยง ระหว่างแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของ กลุ่มจังหวัด และคำของบประมาณกลุ่มจังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด มาตรา 32 ให้นำความมาตรา 28 ใช้บังคับโดยอนุโลม เมื่อคณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบกับแผนพัฒนาจังหวัดและ แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดตามที่ ก.น.จ.เสนอแล้ว ให้ ก.น.จ.ส่งให้ สำนักงบประมาณเพื่อใช้ในการจัดสรรงบประมาณ โดยสำนักงบประมาณต้อง ดำเนินการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีให้เพียงพอต่อการดำเนินงานตาม แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด การส่งแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่า จังหวัดได้ยื่นคำของบประมาณต่อสำนักงบประมาณตามกฎหมายว่าด้วย วิธีการงบประมาณแล้วเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับงบประมาณของจังหวัด สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ) 19

  24. ขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด 1. ก.น.จ.กำหนดกรอบ นโยบาย ขั้นตอน และวิธีการการจัดทำแผนพัฒนาและงบประมาณของ จังหวัด/กลุ่มจังหวัดส่งให้กลุ่มจังหวัด และจังหวัด 2. จังหวัดรวบรวมข้อมูลศักยภาพของจังหวัด และสำรวจความต้องการของประชาชนในจังหวัด ส่งให้กลุ่มจังหวัด (ตามมาตรา 18) 3. ก.บ.ก. ประชุมเพื่อจัดทำร่างแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด และ ก.บ.จ. ประชุมเพื่อจัดทำร่างแผน พัฒนาจังหวัด 4. ก.บ.ก.ส่งแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด(พร้อมบัญชีรายการโครงการที่ต้องการให้สนับสนุน)ให้ ก.บ.จ. 5. แต่ละจังหวัดจัดประชุมปรึกษาหารือกับทุกภาคส่วนในจังหวัดเพื่อพิจารณาแผนพัฒนากลุ่ม จังหวัดและแผนพัฒนาจังหวัดในคราวเดียวกัน (มาตรา 19) 6. ก.บ.จ. 6.1 เสนอความเห็นของที่ประชุมเกี่ยวกับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ส่ง ก.บ.ก. 6.2ปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดให้สมบูรณ์ และส่ง ก.น.จ. 7. ก.บ.ก. ปรับปรุงแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดให้สมบูรณ์ และ ส่ง ก.น.จ. เวทีรับฟัง เวทีรับฟัง เวทีรับฟัง 8. ก.น.จ. กลั่นกรองและเสนอความเห็นเกี่ยวกับแผนพัฒนา จังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดเสนอคณะรัฐมนตรี ก.บ.จ. 1 ก.บ.จ. 2 ก.บ.จ. 3 เพื่อพิจารณาอนุมัติให้ความเห็นชอบ ก.บ.ก. 9. ครม. พิจารณาเห็นชอบแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด/จังหวัด สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ) 20 แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัด 20

  25. ปรึกษาหารือ การจัดประชุม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง • มาตรา 53/1พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 • มาตรา 19 พรฎ.ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัด แบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 ผู้มีหน้าที่จัดประชุมปรึกษาหารือ • ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้จัดประชุม โดย @นำแผนพัฒนาจังหวัด และแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดที่ได้รับ จาก ก.บ.ก. เข้ารับฟังความคิดเห็นด้วย สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ) 22

  26. ปรึกษาหารือ การจัดประชุม ผู้เข้าร่วมประชุมปรึกษาหารือ บุคคลจากภาคส่วนต่าง ๆ ที่มาประชุมปรึกษาหารือร่วมกันกับ ผู้ว่าราชการจังหวัด ประกอบด้วย (1) หัวหน้าส่วนราชการที่มีสถานที่ตั้งทำการอยู่ในจังหวัด หรือมีเขตอำนาจ หน้าที่ในจังหวัด ไมว่าจะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาคหรือราชการ บริหารส่วนกลาง (2) หัวหน้าหน่วยงานที่เป็นรัฐวิสาหกิจและหน่วยงานอื่นของรัฐบรรดาที่มี สถานที่ตั้งทำการอยู่ในจังหวัดหรือมีเขตอำนาจหน้าที่ในจังหวัด (3) ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมดในจังหวัด (4) ผู้แทนภาคประชาสังคม (5) ผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ) 23

  27. การทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด • มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2552 เห็นชอบให้จังหวัดและกลุ่มจังหวัดทบทวนแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ก่อนที่จะเริ่มต้นจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 โดยให้รับความเห็นและข้อสังเกตของคณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.น.จ.) ไปเป็นแนวทางในการทบทวนปรับปรุงแผน สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

  28. การทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด • มติคณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.น.จ.)เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2552 เห็นชอบให้กำหนดแนวทางและหลักเกณฑ์ รวมทั้งปฏิทินการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 โดยสรุปคือ สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

  29. การทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด • ให้นำนโยบายของรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค ยุทธศาสตร์รายสาขา ตลอดจนผลการศึกษาของส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง มาเป็นกรอบหลักในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด มุ่งการทำงานแบบเครือข่ายร่วมกันทุกภาคส่วน รับฟังความคิดเห็นของประชาชน สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

  30. การทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด • แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี (คำของบประมาณ) ให้สอดคล้องในประเด็นต่างๆ เช่น เป็นโครงการที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และเป้าหมายของแผน และสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลที่เน้นหนักในเรื่องที่เกี่ยวกับ การกระตุ้นเศรษฐกิจ สร้างโอกาส เพิ่มรายได้ ลดภาระค่าครองชีพของประชาชน การดำเนินการตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง/เกษตรทฤษฎีใหม่ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในพื้นที่เฉพาะ หรือพื้นที่พิเศษ หรือชุมชน การพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อสร้างรายได้ การค้าชายแดน เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ (Creative Economy) สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

  31. การทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด การพัฒนาการเกษตรและอุตสาหกรรมที่มีคุณภาพและเหมาะสมกับ ศักยภาพของพื้นที่เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนาและฟื้นฟูต่อยอดแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม เป็นโครงการที่มีความจำเป็น มีความเหมาะสม ความคุ้มค่า ความเป็นไปได้ของโครงการ มีความเชื่อมโยงกับโครงการอื่น • ข้อห้ามการจัดทำคำของบประมาณ ปี 2554 1. ไม่เป็นโครงการที่มีวัตถุประสงค์หลักในการจัดซื้อครุภัณฑ์ ขุดลอก คลอง ทำหรือซ่อมถนนและพัฒนาแหล่งน้ำ (สัดส่วนที่เหมาะสม) สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

  32. การทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ข้อห้ามการจัดทำคำของบประมาณ ปี 2554 (ต่อ) • ไม่เป็นโครงการที่มีวัตถุประสงค์หลักเกี่ยวกับการศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน ยกเว้นการฝึกอบรมด้านอาชีพ และการศึกษาวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาที่สำคัญของพื้นที่ หรือการทำแผนแม่บทซึ่งมีความสัมพันธ์กับการพัฒนาจังหวัด ซึ่งต้องใช้องค์ความรู้จากสถาบันการศึกษา • ไม่เป็นโครงการบริการสาธารณะ หรือบริการประชาชนที่เป็นภารกิจประจำของหน่วยงานราชการ หรือ อปท. อยู่แล้ว • ไม่เป็นโครงการที่เน้นเฉพาะจุดใดจุดหนึ่งในระดับจุลภาค หรือระดับชุมชนย่อย สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

  33. การจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด แผนต้องแยกผู้รับผิดชอบโครงการให้ชัดเจน 1. โครงการที่ดำเนินการโดยจังหวัด(ใช้งบจังหวัด) 2. โครงการที่ดำเนินการโดยกลุ่มจังหวัด(ใช้งบกลุ่มจังหวัด) 3. โครงการที่ดำเนินการโดยกระทรวง กรม(ใช้งบกระทรวง/กรม) 4. โครงการที่ดำเนินการโดย อปท. (ใช้งบ อปท.) 5. โครงการที่ดำเนินการโดยภาคธุรกิจเอกชน(ใช้งบภาคธุรกิจฯ) สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

  34. การจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด 6. โครงการที่ดำเนินการโดยภาครัฐร่วมกับภาคธุรกิจเอกชน (ใช้งบภาครัฐกับภาคธุรกิจเอกชน) 7. โครงการที่ดำเนินการโดยชุมชน(ใช้งบชุมชน) • ตามข้อ 1 ใช้งบจังหวัด(คำของบประจำปีของจังหวัด) • - ตามข้อ 2 – 7 ส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดทำคำขอ • งบประมาณ หรือจัดงบประมาณสนับสนุน ดำเนินการ สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

  35. การจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด • แนวทางการจัดทำโครงการ 1. ต้องสอดคล้องและเชื่อมโยงกับประเด็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด โดย มีลักษณะโครงการ ดังนี้ 1.1 การดำเนินเศรษฐกิจชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1.2 การพัฒนาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ - ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าและบริการ - เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันสินค้า OTOP - พัฒนาคุณภาพ/สร้างมูลค่าเพิ่มของสินค้าเกษตร สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

  36. การจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด 1.3 ฟื้นฟูและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัด 1.4 พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในพื้นที่เฉพาะ หรือพื้นที่ พิเศษ(กลุ่มการค้าชายแดน กลุ่มธุรกิจและสินค้าฮาลาล) 2. ความจำเป็นของโครงการ (ช่วยพัฒนาและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น หากไม่ดำเนินการจะเกิดความเสียหาย หรือเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันนำไปสู่การกระตุ้นให้เกิดการลงทุนของภาคเอกชน และสร้างรายได้ให้จังหวัด สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

  37. การจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด 3. ความเหมาะสมและเป็นไปได้ของโครงการ - ด้านเทคนิค (วิธีการหรือรูปแบบที่ใช้ในการดำเนินการ) - ด้านกายภาพ (ความพร้อมของพื้นที่ดำเนินงาน บุคลากร การบริหาร ความเสี่ยง และการบริหารจัดการ) - ด้านงบประมาณ (ความสมเหตุสมผลของวงเงินกับประโยชน์ที่ได้จาก การดำเนินโครงการ) - ด้านระยะเวลา (แล้วเสร็จภายในปีงบประมาณ) - มีการวิเคราะห์ผลกระทบทางลบในการดำเนินโครงการ สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

  38. การจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด 4. ความคุ้มค่า ผลลัพธ์/ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ(ด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ความมั่นคง) อาทิเช่น - จำนวนประชากร - จำนวนเกษตรกร - จำนวนพื้นที่เพาะปลูก - รายได้ - ฯลฯ สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

  39. ปฏิทินการจัดทำแผน 1. ทบทวนและส่งแผนพัฒนาจังหวัดให้ ก.น.จ. ภายในวันที่ 31 ส.ค. 52 2. ส่งแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 (คำของบฯ) ให้ ก.น.จ. ภายในวันที่ 15 ธ.ค. 52 3. ก.น.จ. และ ครม.เห็นชอบ(1 ก.พ.53 , 8 เม.ย.53) 4. คณะอนุกรรมาธิการท้องถิ่นและจังหวัดพิจารณา (2 ก.ค.53) 5. คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2554 สภาผู้แทนราษฎรพิจารณา (21 ก.ค.53) 6. สภาผู้แทนราษฎรพิจารณาวาระที่ 2 วาระที่ 3 (18-19 ส.ค.53) 7. ทูลเกล้าฯ เป็น พ.ร.บ. ใช้ 1 ต.ค.53 สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

  40. ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1(นครชัยบุรินทร์) สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

  41. วิสัยทัศน์ “ประตูอีสานสู่สากล” พันธกิจ 1. เพิ่มขีดความสามารถในการผลิต การแปรรูป การจัดการ และการแข่งขันทางการตลาดสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร ทั้งภายในและต่างประเทศ 2. เพิ่มขีดความสามารถในการผลิต การแปรรูป การจัดการ และการตลาดผลิตภัณฑ์ไหม ทั้งภายในและต่างประเทศ 3. เพิ่มศักยภาพและเชื่อมโยงการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว สินค้าและบริการท่องเที่ยวทั้งภายในและต่างประเทศ 4. เพิ่มศักยภาพและพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานให้ได้มาตรฐานสู่การแข่งขันในตลาดแรงงาน กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ (นครชัยบุรินทร์) สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

  42. ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1 วิสัยทัศน์ : ประตูอีสานสู่สากล    การพัฒนาการเกษตร การพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ ผ้าไหม การพัฒนาศักยภาพ การท่องเที่ยว  เพิ่มรายได้จากการ ท่องเที่ยวจาก จังหวัดนครชัย บุรินทร์ พัฒนาศักยภาพการ ท่องเที่ยว  ส่งเสริมการตลาด นำการผลิต การพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ผ้าไหม ส่งเสริมภูมิปัญญา ท้องถิ่นให้ยั่งยืน • เพิ่มขีดความ • สามารถในการผลิต • ให้แก่เกษตรกร สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

  43. ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1 วิสัยทัศน์ : ประตูอีสานสู่สากล  การพัฒนาคุณภาพและทักษะ ฝีมือแรงงานสู่สากล • เพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพและมีรายได้เพิ่มขึ้น • ผลิตแรงงานให้มีทักษะสอดคล้องกับความต้องการ • ของตลาดแรงงานทั้งในและต่างประเทศ สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

  44. ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1(ต่อ) ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย 1. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของปริมาณผลิตผลทางการเกษตรที่สำคัญ(ข้าวหอมมะลิและมันสำปะหลัง) • มูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ไหม • ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากการท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัด สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

  45. ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1(ต่อ) • ด้านการพัฒนาคุณภาพและทักษะฝีมือแรงงานสู่สากล - มีองค์กร/หน่วยงานหลักในการบริหารจัดการ - มีฐานข้อมูลความต้องการแรงงานของภาคการผลิตและบริการ - ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของผู้ผ่านการฝึกอบรมมาตรฐานแรงงาน - ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของผู้ผ่านการฝึกอบรมมาตรฐานแรงงาน มีงานทำ สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

  46. ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1(ต่อ) • แนวทางการพัฒนา - ส่งเสริมและพัฒนาผลผลิตให้มีคุณภาพและ มาตรฐาน ด้านการพัฒนาการเกษตร สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

  47. ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1(ต่อ) • แนวทางการพัฒนา - ส่งเสริมผู้ประกอบการไหมรายใหม่ - ฝึกอบรมสมาชิกกลุ่มประกอบการให้มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน ด้านการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ไหม สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

  48. ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1(ต่อ) แนวทางการพัฒนา - พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว - พัฒนาเครือข่ายเชื่อมโยงการท่องเที่ยว - พัฒนาสินค้าและบริการการท่องเที่ยว ด้านการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยว สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

  49. ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1(ต่อ) แนวทางการพัฒนา - ส่งเสริมและพัฒนาฝีมือแรงงานให้ได้มาตรฐานตรงกับความ ต้องการของตลาดแรงงาน - พัฒนาเครือข่ายทักษะแรงงานเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขัน ด้านการพัฒนาคุณภาพและทักษะฝีมือแรงงานสู่สากล สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

  50. ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ สนจ.บุรีรัมย์(กลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ)

More Related