1.27k likes | 2.74k Views
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. ความสำคัญของมาตรฐาน บรรจุภัณฑ์อาหารในประเทศไทย โดย กรรณิการ์ โตประเสริฐพงศ์ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. ลำดับความสำคัญมาตรฐาน 1. มาตรฐานระดับบริษัท (company standards) 2. มาตรฐานระดับประเทศ (national standards)
E N D
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ความสำคัญของมาตรฐาน บรรจุภัณฑ์อาหารในประเทศไทย โดย กรรณิการ์ โตประเสริฐพงศ์ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ลำดับความสำคัญมาตรฐาน 1. มาตรฐานระดับบริษัท (company standards) 2. มาตรฐานระดับประเทศ (national standards) TIS, JIS, ASTM, BS, … 3. มาตรฐานระดับภูมิภาค (regional standards) EN, ASEAN , EOR 4. มาตรฐานระดับสากล(International Organization for Standardization-ISO)
มาตรฐาน คืออะไร? • สิ่งที่สื่อเป็นหลักสำหรับเทียบกำหนด สิ่งที่ทุกคนยอมรับและเข้าใจตรงกัน (พ.ศ. 2525) • สิ่งที่ถือเอาเป็นเกณฑ์สำหรับเทียบกำหนด ทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก. (TIS) สิ่งหรือเกณฑ์ทางเทคนิคที่กำหนดขึ้นสำหรับผลิตภัณฑ์ หรือสินค้า • คุณลักษณะที่สำคัญของผลิตภัณฑ์ • วัสดุที่ใช้ทำ • วิธีทดสอบ • เครื่องหมายและฉลาก • การชักตัวอย่าง ฯลฯ
ตัวอย่าง มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
มอก. บรรจุภัณฑ์สำหรับอาหาร มีความปลอดภัยต่อสุขอนามัย มีความคงทนในการใช้งานตามที่กำหนด เพื่อใช้รับรองว่า
เป็นข้อกำหนดนำไปสู่ การขอมีเครื่องหมายมาตรฐานของผู้ผลิต ขยายผลไปสู่การคุ้มครองผู้บริโภค ส่งเสริมให้ผู้ผลิตนำไปใช้เพื่อยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่ยอมรับ
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม บรรจุภัณฑ์อาหาร ที่ประกาศกำหนดแล้ว พลาสติก เซรามิก แก้ว โลหะ กระดาษ
1. ถังเก็บน้ำพลาสติกเสริมใยแก้ว มอก.435 2. ภาชนะและเครื่องใช้เมลามีน มอก.524
3. ภาชนะพลาสติกสำหรับบรรจุนมและ ผลิตภัณฑ์นม มอก. 653 4. ภาชนะพลาสติกสำหรับบรรจุ น้ำมันและไขมันบริโภค มอก.654
5. ภาชนะและเครื่องใช้พลาสติกสำหรับอาหาร มอก. 655
6. ภาชนะพลาสติกสำหรับบรรจุน้ำส้มสายชู มอก. 997 7. ภาชนะพลาสติกสำหรับ บรรจุน้ำบริโภค มอก. 998 8. กระติกน้ำพลาสติก มอก. 1002
9. ถุงพลาสติกสำหรับบรรจุอาหาร มอก. 1027 10. ฟิล์มยืดหุ้มห่ออาหาร มอก. 1136 มาตรฐานบังคับ (วันที่มีผลบังคับใช้ 10 พฤศจิกายน 2542)
11. ขวดนมพลาสติก มอก. 1181 12. ถังเก็บน้ำพลาสติก มอก. 1379
13. ภาชนะและเครื่องใช้อะคริลิกพลาสติกสำหรับอาหาร มอก. 2093 14. ภาชนะ เครื่องใช้ และฟิล์มไนลอนสำหรับอาหาร มอก. 2108
15. กระสอบพลาสติกสำหรับบรรจุอาหาร มอก. 2504
16. หลอดพลาสติกสำหรับอาหาร มอก. 776
17. ภาชนะเซรามิกที่ใช้กับอาหาร:พอร์ซเลนมอก.564 18. ภาชนะเซรามิกที่ใช้กับอาหาร :เออร์เทนแวร์ มอก.601 19. ภาชนะเซรามิกที่ใช้กับอาหาร :สโตนแวร์ มอก.602
20. ขวดแก้วสำหรับเครื่องดื่มประเภทอัดก๊าซ มอก. 2
21. ขวดแก้วบรรจุสุราชนิดฝาเกลียว มอก. 574
22. ภาชนะแก้วที่ใช้กับอาหาร มอก.603
23. กระป๋องโลหะสำหรับบรรจุอาหาร มอก.90
24. ภาชนะอะลูมิเนียม มอก.789 25. ภาชนะโลหะเคลือบสำหรับใช้ในครัวเรือน มอก.835
26. เครื่องใช้เหล็กกล้าไร้สนิม:ช้อน ส้อม และมีด มอก. 410 27. เครื่องใช้เหล็กกล้าไร้สนิม:จาน ถ้วย ชาม และถาด มอก. 451
28. เครื่องใช้เหล็กกล้าไร้สนิม:หม้อ กระทะ ชามอ่าง ตะหลิว ทัพพี และกระบวย มอก. 808
29. เครื่องใช้เหล็กกล้าไร้สนิม:ภาชนะหุงต้มที่มีรอยประสาน มอก. 2440
30. ถ้วยกระดาษสำหรับเครื่องดื่ม มอก. 1141
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม บรรจุภัณฑ์อาหาร ที่อยู่ระหว่างดำเนินการจัดทำร่าง (ยังไม่ประกาศใช้) 21เรื่อง
1. ภาชนะและเครื่องใช้พลาสติกสำหรับอาหาร เล่ม 1 พอลิเอทิลีน พอลิพรอพิลีน พอลิสไตรีน พอลิเอทิลีนเทเรฟแทเลต พอลิไวนิลแอลกอฮอล์ และพอลิเมทิลเพนทีน มอก. 655 เล่ม 1 2. ภาชนะและเครื่องใช้พลาสติกสำหรับอาหาร เล่ม 2 พอลิไวนิลคลอไรด์ พอลิคาร์บอเนต พอลิเอไมด์ และพอลิเมทิลเมทาคริเลต มอก. 655 เล่ม 2
3. ฟิล์มพลาสติกสำหรับนมและผลิตภัณฑ์นม 4. ฟิล์มพลาสติกสำหรับน้ำมันและ ไขมันบริโภค 5. ฟิล์มพลาสติกสำหรับอาหาร ที่มีกรดอินทรีย์
6. ภาชนะและเครื่องใช้พลาสติกสำหรับอาหาร เล่ม 3 อะคริโลไนไทรล์- บิวทะไดอีน-สไตรีน และอะคริโลไนไทรล์–สไตรีน 7. ภาชนะและเครื่องใช้พลาสติกสำหรับอาหาร เล่ม 4 ยูเรีย-ฟอร์แมลดีไฮด์และฟีนอล-ฟอร์แมลดีไฮด์ 8. ภาชนะและเครื่องใช้เคลือบ พอลิเททระฟลูออโรสำหรับอาหาร
9. ภาชนะพลาสติกบรรจุอาหารสำหรับเตาอบไมโครเวฟ เล่ม 1 สำหรับอุ่น 10. ภาชนะพลาสติกบรรจุอาหารสำหรับเตาอบไมโครเวฟ เล่ม 2 สำหรับใช้ครั้งเดียว 11. ภาชนะพลาสติกบรรจุอาหาร สำหรับเตาอบไมโครเวฟ เล่ม 3 สำหรับปรุงอาหาร
12.ถุงพลาสติกแบบกดปิดสำหรับบรรจุอาหาร 13.ถุงพลาสติกหิ้วรูปตัวยูสำหรับบรรจุอาหาร
14.ภาชนะ เครื่องใช้ ฟิล์ม ถุงพลาสติกสลายตัวได้ทางชีวภาพสำหรับอาหาร 15.ฟิล์มยืดสำหรับเตาอบไมโครเวฟ-มาตรฐานบังคับ 16.วัสดุสำหรับห่อหุ้มอาหาร
17.ฟิล์มพลาสติกสำหรับยืดอายุผัก และผลไม้สด 18.ถุงพลาสติกบรรจุอาหารแบบสุญญากาศ
19.ถุงพลาสติกบรรจุอาหารแบบต้มในน้ำเดือด19.ถุงพลาสติกบรรจุอาหารแบบต้มในน้ำเดือด
20.ถุงมือพลาสติกสำหรับสัมผัสอาหาร 21.ผลิตภัณฑ์พลาสติกบรรจุสารดูดความชื้น
สัญลักษณ์แสดงว่าสัมผัสอาหารได้อย่างปลอดภัยและไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพสัญลักษณ์แสดงว่าสัมผัสอาหารได้อย่างปลอดภัยและไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
เครื่องหมายมาตรฐาน เครื่องหมายมาตรฐานทั่วไป voluntary certification mark • เครื่องหมายมาตรฐานบังคับ mandatory certification mark
ทำอย่างไรจึงจะให้สินค้าได้ทำอย่างไรจึงจะให้สินค้าได้ เครื่องหมายมาตรฐาน
ทำผลิตภัณฑ์ให้ได้ตามมาตรฐานทำผลิตภัณฑ์ให้ได้ตามมาตรฐาน ยื่นคำขอ สมอ. เก็บตัวอย่างทดสอบตาม มอก.ตรวจ QC ที่โรงงาน
เก็บตัวอย่างทดสอบตาม มอก. ส่งตรวจสอบ LABที่มีความน่าเชื่อถือ เช่น • กรมวิทยาศาสตร์บริการ • กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ • สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย • MTEC
ตรวจ QC ที่โรงงาน ตรวจโดยเจ้าหน้าที่ สมอ.
ออกใบอนุญาต มาตรฐานสมัครใจ