1 / 222

ยืนยง ราช วงษ์ Facebook: ยืนยง ราชวงษ์ ID Line: yuenyongrachawong

ส่วนที่ ๓ การวิจัยเพื่อพัฒนา การจัดการเรียนรู้. ยืนยง ราช วงษ์ Facebook: ยืนยง ราชวงษ์ ID Line: yuenyongrachawong E-mail : r.yuenyong@gmail.com rachawong_yong@yahoo.co.th Website: http ://www.srb1.go.th/supervie/ Website : http : // gotoknow.org / blog / yuenyong

Download Presentation

ยืนยง ราช วงษ์ Facebook: ยืนยง ราชวงษ์ ID Line: yuenyongrachawong

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ส่วนที่ ๓ การวิจัยเพื่อพัฒนา การจัดการเรียนรู้ ยืนยง ราชวงษ์ Facebook: ยืนยง ราชวงษ์ ID Line: yuenyongrachawong E-mail : r.yuenyong@gmail.com rachawong_yong@yahoo.co.th Website: http://www.srb1.go.th/supervie/Website: http://gotoknow.org/blog/yuenyong Tel: ๐๘๙-๕๔๐๒๕๐๐

  2. คำอธิบาย ฝึกปฏิบัติ วิเคราะห์ สังเคราะห์ เขียนรายงาน นำเสนอเกี่ยวกับหลักการ แนวคิด ความหมาย ความสำคัญของการวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้รูปแบบการวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ขั้นตอนการวิจัย การวิเคราะห์ปัญหา การพัฒนานวัตกรรม การใช้นวัตกรรม การประเมินและการสรุปผลการใช้นวัตกรรม การเขียนรายงานการพัฒนานวัตกรรม การนำเสนอผลงานวิจัย การเขียนรายงานผลการปฏิบัติงาน และปฏิบัติการวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้

  3. สาระสำคัญ การเขียนรายงานการวิจัยเพื่อมีหรือเลื่อน วิทยฐานะ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเขียนรายงานเพื่อเผยแพร่ให้ผู้อื่นได้ทราบและนำไปใช้ประโยชน์ รายงานการวิจัยที่จัดทำต้องแสดงให้เห็นแนวคิดตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งเสร็จสิ้นการดำเนินการวิจัยว่าสิ่งที่จัดทำมีประสิทธิภาพ และมีการใช้ระเบียบวิธีการวิจัยที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ การเขียนรายงานการวิจัย มีลักษณะที่สำคัญ คือ มีความตรง มีความชัดเจน มีความสมบูรณ์ มีความถูกต้องตามความเป็นจริง

  4. วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจัยเพื่อการพัฒนา การจัดการเรียนรู้ และนำไปประยุกต์ใช้ ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้

  5. สาระการเรียนรู้ • ๑) หลักการ แนวคิด ความหมาย ความสำคัญของการวิจัย • เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ • ๒) รูปแบบการวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ • ๓) ขั้นตอนการวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ • ๔) ผลงานวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ • ๕) การเขียนรายงานผลการปฏิบัติงาน

  6. กิจกรรมการพัฒนา(๑๘ ชั่วโมง) ๑) วิทยากรเกริ่นนำ นำเสนอขอบข่ายของการพัฒนาและ ข้อตกลงของการพัฒนา ๒) ผู้เข้ารับการพัฒนาฝึกปฏิบัติกิจกรรมตามใบงานและศึกษา เอกสารความรู้ เป็นรายบุคคล(ตามความเหมาะสม แบ่งตามกลุ่มสาระๆ ๘-๑๐ คน) ใบงานที่ ๓.๑ การวิเคราะห์ปัญหาการวิจัย ใบงานที่ ๓.๒ออกแบบสื่อและนวัตกรรม ใบงานที่ ๓.๓การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือและสื่อ ใบงานที่ ๓.๔เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ใบงานที่ ๓.๕การวิเคราะห์ข้อมูล/ การแปลผล ใบงานที่ ๓.๖ การเขียนรายงานการวิจัย ใบงานที่ ๓.๗ การเขียนรายงานผลการปฏิบัติงาน

  7. ๓) เมื่อเสร็จกิจกรรมในแต่ละใบงาน วิทยากรดำเนินกิจกรรม ดังนี้ ๓.๑) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เข้ารับการพัฒนา และวิทยากร ๓.๒) ผู้เข้ารับการพัฒนานำเสนอผลงาน ที่ได้จากใบงาน ๓.๓) วิทยากรวิพากษ์และพัฒนาต่อยอดผลงาน ของแต่ละคน ๓.๔) ผู้เข้ารับการพัฒนาปรับปรุงใบงานตามข้อเสนอแนะ ๔)วิทยากรสรุปสาระสำคัญของกระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนา ผลงานทางวิชาการ

  8. ๕) วิทยากรบรรยายประเด็นปัญหาด้านคุณภาพและประโยชน์ ของผลงานทางวิชาการ ประกอบด้วย (๑) ความสมบูรณ์ของเนื้อหา (๒) ความถูกต้อง ตามหลักวิชาการ (๓) ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (๔) การจัดทำ การพิมพ์ และรูปเล่ม (๕) ประโยชน์ต่อผู้เรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา การจัดการศึกษา หน่วยงานการศึกษาและชุมชม (๖) ประโยชน์ต่อความก้าวหน้าทางวิชาการ (๗) การเผยแพร่ในวงวิชาการ

  9. ๖) วิทยากรนำเสนอวิธีการเขียนรายงานผล การปฏิบัติงาน ๗) ผู้เข้ารับการพัฒนาฝึกปฏิบัติตามใบงานที่ ๓.๗ การเขียนรายงานผลการปฏิบัติงาน ๘) ผู้เข้ารับการพัฒนาส่งงาน ใบงานที่ ๓.๖ ๙) ทดสอบหลังการพัฒนา

  10. สื่อที่ใช้ในการพัฒนา ๑) หลักสูตร/ คู่มือ ๒) เอกสารประกอบการพัฒนา/เอกสารความรู้ ๓) Power Point ๔) ใบงานที่ ๓.๑-๓.๗ ๕) ผลงานทางวิชาการที่ไม่ได้รับการอนุมัติ (ผู้เข้ารับการพัฒนาต้องนำมาด้วย)

  11. การวัดและประเมินผล ๑) ทดสอบ ๒) ประเมินใบงาน ๓) สังเกตพฤติกรรม (ซักถาม ตอบคำถาม นำเสนอ เข้าร่วมกิจกรรม)

  12. ผู้เข้ารับการพัฒนาฝึกปฏิบัติตามใบงาน ทุกใบงาน ส่งทุกใบงานทุกใบงาน ให้คะแนนพฤติกรรมใบงานที่ ๓.๖ ให้คะแนนความเข้าใจ

  13. ใบงานที่ ๓.๑การวิเคราะห์ประเด็นปัญหา

  14. กิจกรรม ๑. งานที่ได้รับมอบหมาย (เช่น รับผิดชอบชั้นกลุ่มสาระ/วิชา) ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ประเด็นปัญหา (ผลงานทางวิชาการที่ไม่ได้รับการอนุมัติ) ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. ที่มาหรือสาเหตุของปัญหา ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………

  15. ประเด็นปัญหาการวิจัย ความสงสัย อยากรู้คำตอบ/ไม่บรรลุเป้า จุดเริ่มต้นของการวิจัย เป็นการตีกรอบ และ เจาะลึกถึงปัญหาให้ชัดเจน

  16. แหล่งที่มาของปัญหาการวิจัยแหล่งที่มาของปัญหาการวิจัย ๑. ประสบการณ์การสอนของตนเอง/การทำงาน/ ความสนใจของผู้วิจัย ๒. นโยบาย จุดเน้น ทิศทางการศึกษา ๓. งานวิจัย วิทยานิพนธ์ หรือ วารสาร ๔. ทฤษฎีต่างๆ

  17. วิธีการได้มาซึ่งปัญหา / ความต้องการ ในภาระงานที่ได้รับมอบหมายคือกลุ่มสาระ การเรียนรู้ที่สอน หรืองาน/โครงการ ที่มาของปัญหา สามารถดำเนินการได้หลายวิธี เลือกวิธีที่น่าเชื่อถือที่สุดหรือเลือกหลาย ๆ วิธี เช่น การทดสอบ การประเมิน หรือสำรวจปัญหา

  18. การวิเคราะห์ประเด็นปัญหาการวิเคราะห์ประเด็นปัญหา ผลผลิต กระบวนการ ปัจจัย ผู้เรียน -ฐานะ -สุขภาพ ครู/ผู้บริหาร ผู้ปกครอง ชุมชน นโยบาย หลักสูตร/สื่อ/อุปกรณ์ แผนปฏิบัติราชการ กระบวนการเรียนการสอน -การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ CHILD CENTER/ BBL -การใช้สื่อ นวัตกรรม -การวัดผลและประเมินผล -การสอนซ่อมเสริม -การบันทึกผลหลังสอน ผลสัมฤทธิ์ MQ IQ EQ SQ AQ

  19. แนวทางวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ที่เกิดกับผู้เรียนแนวทางวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ที่เกิดกับผู้เรียน ด้านสติปัญญา ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านทักษะกระบวนการ -ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มสาระอื่น หรือเมื่อเปรียบ เทียบกับเกณฑ์/เป้าหมายที่กำหนด -กระบวนการคิดวิเคราะห์ -ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ -กระบวนการทางคณิตศาสตร์ -ทักษะการทดลอง -ทักษะการพูด -พฤติกรรมต่าง ๆ -วินัย -ซื่อสัตย์/ประหยัด -ความรับผิดชอบ -คุณลักษณะที่สถาน ศึกษากำหนด

  20. ใบงานที่ ๓.๒การออกแบบนวัตกรรม

  21. กิจกรรม ๑. นวัตกรรมที่ใช้แก้ปัญหา (ผลงานทางวิชาการที่ไม่ได้รับการอนุมัติ) …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. องค์ประกอบของนวัตกรรมที่ใช้แก้ปัญหา …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………

  22. ๑. ศึกษา แนวคิด ทฤษฎี หลักการ เกี่ยวกับนวัตกรรม ในการจัดการเรียนรู้/การจัดการ เรียนการสอน

  23. ประเภทของนวัตกรรมทางการเรียนการสอน ที่นิยมแบ่งได้เป็น ๒ ประเภท ๑. ประเภทสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ เทคโนโลยีการสอน เช่น บทเรียนสำเร็จรูป คอมพิวเตอร์ช่วยสอน แบบฝึก หนังสืออ่านเพิ่มเติม นิทาน ชุดการเรียน เป็นต้น ๒. ประเภทเทคนิควิธีการหรือกระบวนการ เช่น วิธีสอนแบบ ๔MAT การเรียนแบบศูนย์การเรียน การสอนโดยบทบาทสมมติ การเรียนแบบร่วมมือ เป็นต้น

  24. นวัตกรรมประเภทเทคนิค วิธีการ การจัดการเรียนการสอน การจัดการเรียนรู้ การจัดประสบการณ์

  25. หลักการจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตร ฯ พุทธศักราช ๒๕๕๑ในชุดอบรมการจัดการเรียนรู้ ของ สพฐ ๑. กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ ๒. กระบวนการสร้างความรู้ ๓. กระบวนการคิด ๔. กระบวนการทางสังคม ๕. กระบวนการเรียนรู้จากสถานการณ์ และแก้ปัญหา ๖. กระบวนการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ๗. กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทำจริง ๘. กระบวนการจัดการ ๙. กระบวนการวิจัย ๑๐. กระบวนการเรียนรู้รูปแบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง ๑๑. กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย

  26. แนวทางจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญที่ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ได้คัดสรรแล้ว ๑. แบบแก้ปัญหา ๒. แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน ๓. แบบสร้างองค์ความรู้ ๔. แบบส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ๕. แบบโครงงาน ๖. แบบประสบการณ์และเน้นที่การปฏิบัติ ๗. แบบบูรณาการสู่พหุปัญญา ๘. จากแหล่งเรียนรู้ ๙. แบบพัฒนากระบวนการคิด ด้วยการใช้คำถามหมวกความคิด ๖ใบ

  27. การจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา

  28. การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน

  29. การจัดการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้การจัดการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้

  30. การจัดการเรียนรู้แบบส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์การจัดการเรียนรู้แบบส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์

  31. การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้เป็นกลุ่ม (Group Investigation : GI)

  32. การจัดการเรียนรู้โดยกระบวนการสร้างค่านิยมการจัดการเรียนรู้โดยกระบวนการสร้างค่านิยม

  33. การจัดการเรียนรู้โดยวิธีกรณีศึกษา(Case Study)

  34. การจัดการเรียนรู้โดยกระบวนการสร้างนิสัยการจัดการเรียนรู้โดยกระบวนการสร้างนิสัย

  35. การจัดกระบวนการเรียนรู้แบบที่เน้นปฏิบัติ ขั้นที่ ๑ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ขั้นที่ ๒ขั้นศึกษาวิเคราะห์ ขั้นที่ ๓ขั้นปฏิบัติ/ฝึกหัด/ทดลอง ขั้นที่ ๔ขั้นสรุปและเสนอผลการเรียนรู้ ขั้นที่ ๕ขั้นปรับปรุงการเรียนรู้และนำไปใช้ ขั้นที่ ๖ขั้นการประเมินผล

  36. การจัดกระบวนการเรียนรู้กลุ่มสาระภาษาไทย ๑. รูปแบบการสอนแบบอนไควรี่ เทรนนิ่ง(Inquiry Training Model) ๒.รูปแบบร่วมมือประสานใจ(Cooperative Learning) ๓.การสอนคิดอย่างมีวิจารณญาณ ๔.การสอนแบบซินดิเคท(Syndicate) ๕.การสอนแบบรอบรู้(Mastery Learning) ๖.การสอนตามหลักการเรียนรู้ของกาเย่(Gagne) ๗.การสอนแบบสืบสวนสอบสวน(InquiryLearning) ๘.การสอนแบบนาฏการ

  37. การจัดกระบวนการเรียนรู้กลุ่มสาระภาษาอังกฤษ ๑. วิธีร่วมมือกันเรียนรู้แบบบูรณาการ (Co-operative Integrated Reading and Competition :CIRC) ๒.การสอนแบบโคช(Coach) ๓.การสอนแบบแบบทีพีอาร์(Total Physical Response :T.P.R) ๔. การสอนแบบรอบรู้(Mastery Learning) ๕.การสอนแบบมุ่งประสบการณ์ภาษา (Concentrate Language Encounters or CLE)

  38. การจัดกระบวนการเรียนรู้กลุ่มสาระภาษาอังกฤษ ๖.แบบไวยากรณ์และแปล(Grammar Translation Method) ๗.การสอนแบบฟัง-พูด(The Audio-Lingual Method) ๘.การสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร(The Communication Approach) ๙.แบบทักษะสัมพันธ์(Integated Skills)

  39. การจัดกระบวนการเรียนรู้กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ๑.การสอนแบบ สสวท. ๒.รูปแบบร่วมมือกันเรียนรู้(Co-operative Learning Method of Training) ๓.การสอนแบบสัญญาการเรียนรู้(LearningContracts) ๔.การสอนแบบโยมิโสมนสิกา ๕.การสอนการแก้โจทย์ปัญหาแบบโพลยา

  40. การจัดกระบวนการเรียนรู้กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ๕E (Inquiry Cycle) หรือกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ๑. ขั้นสร้างความสนใจ (engagement) ๒. ขั้นสำรวจและค้นหา (exploration) ๓. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป(explanation) ๔. ขั้นขยายความรู้ (elaboration) ๕. ขั้นประเมิน (evaluation)

  41. รูปแบบ วิธีการ การสอนต่างๆ รูปแบบการสอน ๔MAT CIPPA Model การสอนแบบบูรณาการ เกมการศึกษา(Educational Game) สถานการณ์จำลอง(Simulation) กรณีตัวอย่าง (Case Study) บทบาทสมมติ (Role Play)

  42. การทดลอง (Experimentation) การอภิปรายกลุ่มย่อย(Small Group Discussion) การแก้ปัญหา (Problem Solving) สืบสวนสอบสวน (Inquiry) กลุ่มสืบค้นความรู้ (Group Investigation) กลุ่มสัมพันธ์ (Group Process) การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Co-operative Learning)

  43. อริยสัจสี่ (๔Noble Truth Method) หลักไตรสิกขา พัฒนากระบวนการคิด (Inductive Thinking) การศึกษานอกสถานที่ (Field Trip) ศิลป์สร้างสรรค์ (Creative Arts) ความคิดรวบยอด (Concept Attainment) ผัสสะทั้ง ๕ ฯลฯ

  44. นวัตกรรมประเภทสื่อ วัสดุ อุปกรณ์/เทคโนโลยี เอกสารแนะแนวทาง หนังสือส่งเสริมการอ่าน /อ่านเพิ่มเติม/หนังสือนิทาน บัตรคำ บัตรภาพ แถบประโยค แผนภูมิ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer –Assisted Instruction )CAI บทเรียนโมดูล คู่มือ ตำรา เอกสารประกอบการสอน/ประกอบการเรียน

  45. แบบฝึก/ชุดฝึก บทเรียนสำเร็จรูป โปรแกรมสำเร็จรูป (Program my Instruction) ศูนย์การเรียน (Learning Centre) ชุดการเรียนการสอน (Instructional Package) การนำเสนอโดยวิดีโอ (VDO Presentation) สไลด์ ฯลฯ

  46. ๒. นำสิ่งที่ได้จากการศึกษา มาวิเคราะห์ สังเคราะห์ ดัดแปลง ปรับประยุกต์/ พัฒนาต่อยอด ให้สอดคล้องกับสภาพบริบทของ โรงเรียน/นักเรียนที่ตนเองรับผิดชอบ

  47. ตัวอย่าง การประยุกต์ ดัดแปลง พัฒนาต่อยอด รูปแบบการจัดการเรียนรู้ อาจได้ อย่างน้อย ๒ทางเลือก ทางเลือกที่ ๑ใช้ ขั้นตอน/วิธีสอนเป็นตัวตั้ง สอดแทรกด้วยสื่อ อุปกรณ์ตัวอย่าง เช่น

  48. การจัดกระบวนการเรียนรู้ ด้วยหลักไตรสิกขา ขั้นศีล: ขั้นเตรียมความพร้อม ด้วยเกม ขั้นสมาธิ: ฝึกปฏิบัติตามใบกิจกรรม/แบบฝึก/ใบงาน ขั้นปัญญา: การนำเสนอความรู้ /การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้

  49. การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน

  50. ทางเลือกที่ ๒ใช้สื่ออุปกรณ์เป็นตัวนำ แล้วนำไปสู่การกำหนดขั้นตอน/วิธีสอน ตัวอย่างเช่น ใช้ชุดกิจกรรม เป็นตัวเดินเรื่อง แล้วกำหนดขั้นการจัดกิจกรรม ขั้นที่ ๑ เชื่อมโยงความคิด ชั้นที่ ๒แลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยการจับคู่สอง สี่ ขั้นที่ ๓กิจกรรมตามชุดกิจกรรม ขั้นที่ ๔นำเสนอผลงาน ขั้นที่ ๕สะท้อนคิด ขั้นที่ ๖พัฒนาต่อยอด

More Related