10 likes | 133 Views
NELI1. 55.13. 46.46. 37.79. 31.00. 29.33. 29.13. NFC. 27.67. 17.00. 15.67. 14.33. CP. 26.00. 13.00. อิทธิพลของระดับโปรตีน คาร์โบไฮเดรตที่ไม่ใช่เยื่อใย และสัดส่วน MP/NE L ในอาหารสูตรรวม ที่มีการใช้หญ้าหมักเป็นแหล่งอาหารหยาบหลักต่อการให้
E N D
NELI1 55.13 46.46 37.79 31.00 29.33 29.13 NFC 27.67 17.00 15.67 14.33 CP 26.00 13.00 อิทธิพลของระดับโปรตีน คาร์โบไฮเดรตที่ไม่ใช่เยื่อใย และสัดส่วน MP/NEL ในอาหารสูตรรวม ที่มีการใช้หญ้าหมักเป็นแหล่งอาหารหยาบหลักต่อการให้ Effects of protein, non fibrous carbohydrate levels and a ratio of metabolizable protein to net energy in TMR feeding based on grass silage roughage source on dairy cattle performance วาสนา ศิริแสน, วิโรจน์ ภัทรจินดา, พรชัย ล้อวิลัย และมนต์ชัย ดวงงจินดา ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จ. ขอนแก่น 40002 บทนำ วิธีดำเนินงานวิจัย โคนมเป็นสัตว์ที่สามารถนำใช้หญ้าหมักเป็นอาหารได้ดี ในช่วงฤดูกาลที่หญ้ามีปริมาณมากเกินพอการทำเป็นอาหารหมัก(silage)แต่อย่างไรก็ตามโคนมต้องการทั้งอาหารเยื่อใยและอาหารคาร์โบไฮเดรตที่ไม่ใช่เยื่อใย (Non fibrous carbohydrate,NFC) เพื่อเป็นแหล่งพลังงานแก่ตัวโคและจุลินทรีย์ในกระเพาะหมัก และรักษาสมดุลการหมักย่อยในกระเพาะหมัก รวมทั้งโคนมยังต้องการโปรตีนและพลังงานที่สมดุลเพื่อตอบสนองต่อการให้ผลผลิตที่ดี โดยเฉพาะพลังงานจะใช้ค่า NEL(Net energy for lactation) ซึ่งเป็นการคำนวณพลังงานที่ตรงกับความต้องการของโค และโปรตีนจะพิจารณาถึงค่า MP (Metabolizable protein) ซึ่งเป็นส่วนของจุลินทรีย์ โปรตีนและกรดอะมิโนที่ถูกย่อยและนำใช้ได้ในส่วนของลำไส้เล็ก ดังนั้นจึงมีการศึกษาเพื่อหาความต้องการโภชนะของโคนมที่เหมาะสมต่อการให้ผลผลิต ร่วมกับการใช้ประโยชน์จากหญ้าหมัก เพื่อให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งจะเป็นแนวทางในการลดต้นทุนค่าอาหาร • สัตว์ทดลองใช้โคนม HF ที่มีวันให้นมเฉลี่ย 75 ± 35 วัน น้ำหนักตัวเฉลี่ย 470 ± 30 กก. แผนการทดลอง ใช้แผนการทดลองแบบ 3x3 Factorial in RCBD • อาหารทดลอง อาหาร TMR 9 สูตร • การเก็บข้อมูล บันทึกปริมาณน้ำนมที่รีดในแต่ละวัน บันทึกการกินอาหารและอาหารเหลือในแต่ละวัน เพื่อวิเคราะห์การกินได้สิ่งแห้ง และบันทึกอุณหภูมิความชื้นของโรงเรือน เพื่อหาค่า THI • การเก็บตัวอย่าง ศึกษาการย่อยได้โดยใช่ Cr2O3 เป็นตัวชี้วัด และเก็บตัวอย่างเลือดเพื่อหากลูโคสและยูเรียในเลือด • การวิเคราะห์ทางสถิติ นำข้อมูลมาวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม และวิเคราะห์ Response surface test และสร้างสมการทำนายในรูป z = a+b1x + b2 x2 + b3 y + b4 y2 + b5 xy + εijk ตารางที่ 1 แสดงวัตถุดิบอาหาร TMR และองค์ประกอบทางเคมีของอาหารTMR โดยการคำนวณ ผลของระดับโปรตีน และ NFC ต่อการย่อยได้โภชนะ รายการ CP 17 CP15 CP13 NFC31 NFC28 NFC26 NFC31 NFC28 NFC26 NFC31 NFC28 NFC26 SEM Effect (P<) T1 T2 T3 T4 T5 T6 T7 T8 T9 X Y Z DM 64.4ab 64.6ab 71.5a70.7a 64.1abc 66.9ab 58.8bc 56.6c 64.7abc 2.81 *** * ns CP 70.3bc 72.0abc 78.8a75.4ab 70.1bc 71.7abc 64.6c 66.9c 71.1bc 2.47 *** * ns GE 83.6ab 82.7abc 85.3a81.9abc 75.9abc 78.8abc 73.3c 73.9bc 75.5abc 3.01 *** ns ns Fat 88.8b 89.7ab 92.5a91.2ab 90.6ab 92.8a 91.3ab 91.2ab 91.7ab 0.92 ns ** ns NDF 49.7ab 49.5ab 60.4a60.2a 50.7ab 54.3ab 41.4b 41.3b 51.6ab 4.29 ** * ns ADF 39.4ab 42.8ab 54.7a56.3a 41.0ab 45.3ab 33.9b 31.4b 42.1ab 5.62 ** ns ns ผลของระดับโปรตีนและ NFCต่อการเปลี่ยนแปลงกลูโคสและยูเรียในเลือด GLU 0 57.6 56.0 43.6 55.3 55.3 55.3 55.3 55.0 54.0 4.06 ns ns ns GLU3.5 50.1b 49.0b 52.1abc51.8abc 52.4ab 58.4a 45.1c 48.8b 54.3ab 2.32 ** ** ns GLU4.5 56.9a 54.5a 56.8a 52.0ab 53.7a 57.8a 45.8b 51.1ab 53.2ab 2.63 ** ns ns BUN 0 19.8a 15.9ab 15.9ab11.6bc 11.4bc 10.8b 8.3b 11.4b 14.3abc 2.08 *** ns ns BUN1.5 16.7ab 16.0ab 17.3a14.8ab 13.5ab 13.8b 12.9b 14.9b 15.8ab 1.0 *** ns *** BUN3.5 16.5ab 15.1ab 17.6a15.6ab 16.1ab 14.7b 13.4b 14.5b 16.4ab 0.95 *** * *** BUN4.5 17.1a 15.8c 17.5a 14.4abc 15.5ac 14.1bc12.6b 13.5bc 15.7ac 0.80 *** * *** ผลของระดับโปรตีนและ NFCต่อสมดุลพลังงาน และประสิทธิภาพการใช้อาหาร NEL 3.1ab 3.2ab 3.3a2.8bc 2.4cd 2.5cd 2.2d 2.4cd 2.7c 0.12 *** ns * NELi 39.5bcd 45.2bc 59.7a47.4ab 34.7bcd 36.6bcd 27.7d 31.7cd 41.6bcd 4.32 *** ** ** Net EEmilk 37.0abc 29.1bc 25.5c34.1abc 39.7abc 42.8ab 47.4a 49.5a 38.4abc 4.68 *** ns ns CP17 CP15 CP13 NFC31 NFC28 NFC26 NFC31 NFC28 NFC26 NFC31 NFC28 NFC26 T1 T2 T3 T4 T5 T6 T7 T8 T9 เมล็ดฝ้าย 5.0 9.5 10.0 9.0 11.9 14.0 13.0 15.4 14.9 กากถั่วเหลือง 44% 20.3 18.4 18.4 13.5 12.8 11.6 7.0 6.3 4.9 กากเบียร์แห้ง 10.3 11.0 11.8 9.4 10.1 11.8 8.0 9.0 14.0 เมล็ดข้าวโพด 16.9 11.3 7.0 17.5 12.7 7.7 17.9 13.3 11.0 รำอ่อน 10.0 12.8 13.0 13.0 13.0 14.0 16.0 16.0 15.0 กากน้ำตาล 3.0 2.5 2.7 3.0 3.0 3.0 3.0 3.0 2.5 มันสำปะหลัง 3.0 3.0 3.0 3.0 3.0 3.0 3.0 3.0 3.0 วิตามินแร่ธาตุรวม 1.5 1.5 4.0 1.6 3.5 4.0 2.1 4.0 4.0 หญ้าหมัก 30.0 30.0 30.0 30.0 30.0 31.0 30.0 30.0 31.0 รวม 100 100 100 100 100 100 100 100 100 องค์ประกอบทางเคมีของอาหาร TMR โดยการคำนวณ MP/NEL , g/Mcal 75.0 74.6 75.1 70.8 72.3 72.5 69.6 69.7 70.6 CP,(%) 17.0 17.0 17.0 15.0 15.0 15.0 13.0 13.0 13.0 RUP, ( % ) 28.8 28.9 28.9 29.5 29.3 29.6 30.2 30.1 31.6 TDN, (%) 72.7 72.8 70.5 73.0 71.6 70.6 73.0 71.4 70.4 NEL, Mcal/Kg 1.8 1.8 1.8 1.8 1.8 1.8 1.8 1.8 1.8 Fat, (%) 3.7 4.3 4.3 4.3 4.6 4.9 5.0 5.2 5.3 ADF,(%) 18.8 20.6 20.7 19.9 20.9 22.2 21.0 21.8 22.7 NDF,(%) 38.0 40.1 40.1 39.3 40.1 41.9 40.2 41.0 43.4 NFC, (%) 31.2 28.2 25.7 31.2 28.2 25.2 31.2 28.2 25.5 Ca, (%) 0.5 0.5 0.5 0.5 0.4 0.5 0.4 0.5 0.5 P, (%) 0.6 0.6 0.6 0.6 0.6 0.6 0.6 0.6 0.6 GLU = glucose, BUN = Blood urea nitrogen, NEl = Net energy สำหรับการให้น้ำนม Net EEmilk =ประสิทธิภาพการเปลี่ยนพลังงานไปเป็นน้ำนม (%) ตารางที่ 2 ผลของระดับโปรตีน และ NFC ต่อสมรรถนะการผลิตรวม CP17CP15CP13 NFC31 NFC28 NFC26NFC31 NFC28 NFC26NFC31 NFC28 NFC26 P (<) T1 T2 T3 T4 T5 T6T7 T8 T9 SEM X Y Z DMItmr,kg/d 12.6c 14.2bc 17.8a 16.9ab 14.4bc 14.6bc 12.7c 13.1c 15.0abc 0.98 ns ** ** DMIc,kg/d 8.0b 9.1ab 10.4a 10.5a 9.2ab 8.9ab 8.1b 8.3ab 9.2ab 0.62 ns ns *** DMIr, kg/d 4.5b 5.2ab 6.3a6.4a 5.2ab 5.7ab 4.6b 4.7b 5.8ab 0.42 ns ** * Milk,kg/d 16.0ab 14.5b 18.3a 19.2a 14.5b 16.7ab 13.1b 15.6ab 16.6ab 1.11 ns * ** Milk4%FCM 16.1abc 14.5bc 17.6ab18.0a 14.1bc15.7abc13.0c15.5abc16.4ab 1.02 ns ns ** Milk fat,% 4.1 3.9 3.7 3.6 3.8 3.6 3.9 3.9 4.0 0.22 ns ns ns Milk protein%2.8 3.1 2.9 3.0 3.1 3.0 3.1 3.1 2.9 0.10 ns ns ns Milk TS,% 12.8 13.5 13.2 13.5 13.5 12.8 12.8 12.9 13.4 0.45 ns ns ns สรุปผล • การทดลองพบว่าที่โปรตีน 17% ร่วมกับ NFC ที่ระดับ 26 % ทำให้เพิ่มการกินสิ่งแห้งของอาหาร TMR ผลผลิตน้ำนม และ 4 % FCMแต่ไม่มีผลแตกต่างทางสถิติต่อองค์ประกอบน้ำนม • การเพิ่มระดับโปรตีน 13-17 % ทำให้เพิ่มการย่อยได้ของ DM, CP, GE • การเพิ่มระดับโปรตีน และ NFC มีผลทำให้กลูโคสชั่วโมงที่ 3 แตกต่างกัน ยกเว้นที่ 4 ชั่วโมงครึ่ง จะเป็นผลจากโปรตีนอย่างเดียว • การเพิ่มโปรตีนในอาหารทำให้ค่า BUN เพิ่มขึ้น แต่การเพิ่ม NFC จะทำให้ค่า BUN ลดลง • สัดส่วน MP/NEL70.6-72.3 g/Mcal ทำให้โคมีประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารไปเป็นน้ำนมได้ดีขึ้น • ดังนั้นเมื่อใช้หญ้าผสมถั่วหมักเป็นแหล่งอาหารหยาบหลัก จะเหมาะสมต่อการใช้โปรตีนในระดับ15-17 % ร่วมกับระดับ NFC ที่26% X= CP, Y= NFC, Z = CP x NFC, ns = not significant, *P=0.1, **P<0.05, ***P<0.01 รูป ความสัมพันธ์ของระดับโปรตีนและ NFC ต่อพลังงานสุทธิสำหรับการให้ผลผลิตที่กินได้ต่อวัน (NEL intake) จากการทำนายด้วยสมการ Response surface test